4.1 Systems, systems and mechanisms for the preservation of art, culture and Thainess
Indicator 4.1 Systems, systems and mechanisms for the
preservation of art, culture and Thainess
The type of process indicator
Indicator description
The faculty must have a system and mechanism for the preservation of arts, culture and Thainess. There is a preparation process. Annual Plan for Preserving Art, Culture and Thainess Learning management, research, academic services are carried out that lead to conservation, rehabilitation, and continuation of knowledge creation. Understanding of art and culture Local knowledge As well as the application of both Thai and foreign art and culture appropriately According to the potential and identity of the faculty with efficiency and effectiveness In order to result in the management of arts and culture such as Pride of being Thai Or creating opportunities and value for sustainable learners, communities, society and the nation.
Performance of the institution Which can reflect the quality of the preservation of art, culture, and being Thai Considered from the implementation in accordance with the specified standard criteria
Benchmark
1. The faculty is responsible for implementing cultural and cultural preservation policies. The history and Thainess of the institute go into action and there is an annual art and culture preservation plan. For the preservation of the arts and culture or to create new value according to the focus of the faculty and institutional identity
2. The faculty organized activities in accordance with the art and culture preservation plan. In order to inherit the history Art and culture according to the local community identity in order to create a database or service. Or a place to learn about arts and culture And for the learners to have appropriate behavior Artistic and aesthetic Is proud of being Thai on cultural diversity Or proud to be a part of Thai culture For international students
3. The faculty has integrated the arts and culture. History, wisdom, traditions Local and national With courses in the curriculum that is based on knowledge-based learning And interdisciplinary learning or integrated learning To create awareness Pride of being Thai Understanding the common ground on cultural differences Learning and creative skills are used in professions and as life skills. As well as integration Learning management, research, academic services leading to conservation, rehabilitation, and continuation of knowledge creation Understanding of art and culture Or local knowledge
4. The faculty has a network of collaborations with various agencies, such as educational institutions, public and private sectors related to arts and culture. History, wisdom, traditions, traditions, and Thainess to conduct research Or develop knowledge Or innovation And disseminate arts and culture to the public Appropriate according to the focus and identity of the institution.
5. The faculty has systematically and continuously monitored the implementation of the arts and culture conservation plan. Successful assessments are based on project indicators and indicators of art and culture conservation plans. Including the results of the assessment of success as indicators to improve plans or activities in the maintenance of arts and culture. To improve the operation
Assessment criteria
Score 1 | Score 2 | Score 3 | Score 4 | Score 5 |
Has action
1 item |
Has action
2 items |
Has action
3 items |
Has action
4 items |
Has action
5 items |
ฺ
ผลการดำเนินงาน
ภายใต้พันธกิจ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย คณะได้ตรวจสอบผลการดำเนินงานปี 2562 พบว่า ได้คะแนนประเมินคุณภาพระดับ 5 ดีมาก จึงกำหนดค่าเป้าหมายที่จะรักษาระดับคุณภาพการดำเนินงานให้เท่าเดิมหรือมีคุณภาพที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น ในการนี้ จึงได้ดำเนินการพัฒนาที่ปรากฏผลการปฏิบัติที่สำคัญๆ ดังต่อไปนี้
1. คณะมอบหมายให้รองคณะบดีฝ่ายบริหารงานทั่วไปและผู้ช่วยคณบดีด้านกิจการนักศึกษาเป็นผู้ร่วมรับผิดชอบหลักในงานด้านนี้ เพื่อนำนโยบาย “การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และความเป็นไทย” ของสถาบันและคณะ ไปสู่การปฏิบัติ โดยในการนี้ คณะได้จัดทำโครงการที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับ ที่สำคัญ 2 โครงการ คือ
ED08 : โครงการพัฒนาการเรียนรู้ของชุมชนที่ตั้งวิทยาลัย ED09 :โครงการส่งเสริมการวิจัย บริการทางวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน |
2. คณะได้ดำเนินงานตามโครงการดังกล่าวข้างต้น ด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมให้บุคลากรไปร่วมในกิจกรรมสำคัญทางศาสนาและวัฒนธรรม ร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่จัดขึ้นทั้งในวิทยาลัยอและในชุมชน การชี้แนะให้คณะจารย์ที่สอนวิชาพื้นฐานทำการวิจัยเรื่องการใช้สารเคมีในแปลงผัก ผลไม้ หรือร้านขายต้นไม้ การร่วมมือกับบโรงเรียน 3 โรง จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่เน้น “การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต” อย่างต่อเนื่องระหว่างปี 2562-2563 ส่งเสริมให้โรงเรียนสำรวจและพัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น นำมาใช้สอนนักเรียน การส่งเสริมให้นักเรียนเป็นนักอ่านและเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ เช่น การรับผิดชอบงานบ้าน การดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว(ไปเป็นเพื่อปู้ ย่า ตายาย ไปร่วมทำบุญในวันพระหรือวันสำคัญทางศาสนา) การศึกษาวิถีชีวิต อาชีพ พ่อแม่ และวิเคราะห์ความเสี่ยงอาชีพของครอบครัว เป็นต้น(เน้น แนวคิด การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ) เป็นต้น
3. คณะศึกษาศาสตร์ได้ประกาศจุดเน้นที่เป็นเอกลักษณ์ประการหนึ่งของวิทยาลัย คือ “จัดการศึกษาด้วยมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย” ที่เน้นเรื่องมารยาท และวิถีไทยในการดำเนินชีวิตในวิทยาลัย และให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ที่เน้นการบูรณาการด้านศิลปะและวัฒนธรรม หรือความเป็นไทยผ่านรายวิชาต่าง ๆ เช่น วิชา ภาษาและวัฒนธรรมสำหรับครู(ในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา) ได้จัดกิจกรรม อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมระหว่างนักศึกษานานาชาติ การศึกษา ค้นคว้า วิจัย และมอบหมายงานให้ศึกษาด้านวัฒนธรรมไทยในรายวิชา มนุษย์กับสังคม”(วิชาพื้นฐาน ในระดับปริญญาตรี) รวมทั้งให้นักศึกษาและคณาจารย์ ร่วมกิจกรรมในสันสำคัญ ๆ ทางประเพณีไทย อาทิ วันสงกรานต์ วันลอยกระทง เป็นต้น
4. คณะมีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ เช่น เครือข่ายห้องสมุดชุมชนอำเภอองครักษ์ ในการศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสิลปะ วัฒนธรรม และวิถีไทย อย่างต่อเนื่อง ร่วมมือกับเครือข่ายโรงเรียนกลุ่มที่ 2 ของ สพป.นครนายก(7 โรงเรียน) เพื่อร่วมกันศึกษาและพัฒนาตามแนวคิด “การจัดการศึกษาเพื่อความผาสุก(Education for Well-being)” ในปีการศึกษา 2563-2564 ที่เน้นให้นักเรียนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้เพื่อการมีงานทำ(ร่วมทำงานการอาชีพกับพ่อแม่) และ การอยู่ร่วมในสังคมพหุวัฒนธรรม-เคารพความแตกต่าง
5. คณะมีการกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินการตามแผนของโครงการทั้งสอง ดังกล่าวข้างต้น สำหรับการทำงานกับเครือข่าย มีการประชุม ปรึกษาหารือ ทั้งในระบบออนไลน์ และเยี่ยมสถานศึกษา ทั้งนี้ ในสินปีงบประมาณ 2563(ก.ย.63) ได้มีการนำผลการประเมินที่รวบรวมมาอย่างต่อเนื่อง ไปนำเสนอในที่ประชุมเครือข่ายภาคตะวันออก ที่มหาวิทยาลัยบูรพา ผลการดำเนินงานตามโครงการในข้อ 1 มีส่วนสำคัญทำให้โรงเรียนบ้านช่องตะเคียนได้รับคะแนนผลการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อม ที่เป็น 1 รายการ ในจุดเน้นของการจัดการสึกษาเพื่อความผาสุก ผลการดำเนินงานในปี 2562-2563 ทำให้เห็นแนวทางการส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้านศิลปะและวัฒนธรรม หรือภูมิปัญญาไทย ในการนี้ ในปีงบประมาณ 2564 จึงได้เสนอโครงการต่อ สป.อว.เพื่อทำโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ซึ่งได้รับการสนับสนุนงาบประมาณในการทำกิจกรรมหลายรายการ 1 ในจำนวนรายกาจกิจกรรมสำคัญ คือ “กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยการจัดทำหนังสั้น และพัฒนาเป็นฐานข้อมูลจำแนกตามตำบลเขตที่ตั้งของโรงเรียน โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและหน่วยงานทุกภาคส่วน”(ภายใต้งบประมาณสนับสนุน 408,000 บาท)
รายการหลักฐาน
4.1.1.1 | 4.1.1 Operation Plan 2563 |
4.1.1.2 | 4.1.2 ร่วมกิจกรรมวันสำคัญๆ ทางศาสนา วัฒนธรรม |
4.1.1.3 | 4.1.3 ประกาศอัตลักษณ์ |
4.1.1.4 | 4.1.4 ร่วมกับเครือข่าย |
4.1.1.5 | 4.1.5 โครงการจัดการศึกษาเพื่อความผาสุก งปม.2563 |
ผลการประเมินตนเอง |
5 |