1.1 Curricular Management

Indicator 1.1                       Curricular Management

Type of Indicator               Outcomes

Indicator description

คณะพึงบริหารหลักสูตรในทุกหลักสูตร ให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร เป็นไปตามอัตลักษณ์ของคณะวิชา และอัตลักษณ์ของสถาบัน  เพื่อให้มีผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมทั้ง การเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์ และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง

ผลการดำเนินการของแต่ละหลักสูตรในคณะวิชา สามารถสะท้อนคุณภาพของบัณฑิต ในหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ

Assessment Criteria

The average score of all curricula assessment scores in the faculty 2021-22

Operational results

   คณะศึกษาศาสตร์ ใช้หลักการบริหารจัดการแบบเสริมพลังอำนาจ(Empowerment Approach) ที่มีกระบวนการดำเนินงานที่สำคัญคือ 1) วิเคราะห์ ทบทวนพันธกิจ-Mission Analysis 2) วิเคราะห์ สภาพปัจจุบัน-ปัญหา หรือระดับคุณภาพงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด-Taking Stock  3) กำหนดเป้าหมายคุณภาพของงานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ-Setting Goal  4) กำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาและกำหนดแผนงานโครงการรองรับ -Developping Strategies 5) ดำเนินการตามแผน ที่มีการกำกับติดตามการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง-Implementing with the best Monotoring Technique  และ 6) รวบรวม วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน-Documenting Progress   โดย การดำเนินงานทั้ง 6 ขั้นตอน เน้นบทบาทการมีส่วนร่วมของโปรแกรมวิชาหรือหลักสูตรต่างๆ  ทั้งนี้ ในทางปฏิบัติได้ให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ฐานคุณภาพปีการศึกษาที่ผ่านมา(ปีการศึกษา 2563)ของแต่ละหลักสูตรและในภาพรวมของคณะ ยึดคะแนนผลการประเมินระดับหลักสูตรในปีการศึกษาที่ผ่านมาเป็น Baselineในการพัฒนาปีการศึกษาต่อไป มีการตั้งเป้าว่า “โดยเฉลี่ยแต่ละหลักสูตรควรบริหารจัดการอย่างเป็นระบบมากขึ้น ผลการประเมินในปีการศึกษาถัดไป คือ 2563 ควรเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 20 % ของช่วงคะแนนส่วนที่เหลือในการขึ้นสู่คุณภาพระดับสูงสุด”  หลังจากนั้นจะจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนระยะ 3 ปี(2563-2565) มีโครงการสำคัญ 2 รายรายคือการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในระดับปริญญาตรี และ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในระดับบัณฑิตศึกษา แล้วให้แต่ละหลักสูตรดำเนินงานตามแผนปรับปรุงพัฒนา ที่ให้ความสำคัญกับข้อเสนอแนะของปีที่ผ่านมา และเสริมจุดเด่นของคณะในเรื่อง การกำกับติดตามงานและการใช้ระบบฐานข้อมูลอิเลคทรอนิกส์และะการส่งเสริมให้นักศึกษาจัดทำ E-Portfolio เพื่อวางแผนพัฒนาตนเองและสั่งสมผลงานตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการกำกับติดตาม  ประชุมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหลักสูตรเป็นระยะๆ เพื่อร่วมรับทราบปัญหา ร่วมแก้ปัญหา และศึกษาจุดเด่นของแต่ละหลักสูตร โดยมีปฏิทินการบริหารหลักสูตรในระดับภาพรวมของคณะและในระกับหลักสูตรที่เป็นรูปธรรม 

   การให้ความสำคัญกับการบริหารงานในระดับหลักสูตร มีผลทำให้การดำเนินงานในระดับหลักสูตรทั้ง 7 หลักสูตร ที่จัดการศึกษาในปี 2564 ได้รับคะแนนผลการประเมินคุณภาพจากกรรมการที่วิทยาลัยแต่งตั้งในระดับที่สูงขึ้น ทุกหลัสูตร  คะแนนเฉลี่ยจากปี 2562-2564 ที่มีค่าเท่ากับ 4.01 4.20 และ 4.44 ตามลำดับ โดยคะแนนปี 2564 เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ของช่วงคะแนนที่เหลือ

CurriculumScore
2562
Score
2563
Score
2564
1. B.Ed-Eng4.224.594.60
2. B.Ed-Math4.074.174.55
3. B.Ed-Sci3.774.174.42
4. G-Dip Inter4.164.604.69
5. G-Dip Thai4.174.404.43
6. M.Ed-Admin3.663.983.96
7. M.Ed-LMS3.424.40
Mean4.014.204.44

The effectiveness scores of 7 program are continuously growth

Evidences

1.1.1 Results Self-Assessment Report – B.Ed-Eng
1.1.2Results Self-Assessment Report – B.Ed-Math
1.1.3Results Self-Assessment Report – B.Ed-Sci
1.1.4Results Self-Assessment Report – G.Dip-Inter
1.1.5Results Self-Assessment Report – G.Dip-Thai
1.1.6Results Self-Assessment Report – M.Ed-Admin
1.1.7 Results Self-Assessment Report – M.Ed-LMS
Self Assessment
4.44