1.3 Students Activities and Services

Indicator 1 .3          Student services and student activities

The type of  indicator           input           

Indicator description

          Students who come to study in the faculty Will have features according to the focus of the course According to the identity of the school According to the institution’s identity And succeed in education The faculty must look after students or provide services to students in a complete and appropriate manner. From counseling both academic and living Provide information service Agencies that provide services such as scholarships, loans Scholarships resources for employment services Professional experience training resources Preparation for work upon graduation, news, information, movement in and out of the institution that is necessary for students In addition, the faculty must promote various student activities. Appropriately and completely Both extra curricular activities conducted by institutions and by student organizations The participants will have the opportunity to develop intellectually, socially, emotionally, physically and morally, in line with the desirable characteristics of the graduates. By applying quality principles Such as the Deming quality cycle In doing various activities Allowing students to continually improve quality

          Faculty Performance Which can reflect the quality of student services and student activities Considered from the implementation in accordance with the specified standard criteria

Benchmark

1. The faculty has prepared a student service plan. And student development plan By allowing students to participate in the plan for organizing student development activities as a whole

2. Student service plans for implementation in full, including 1) academic advising services Life and career guidance for students in the faculty 2) Providing information Both the information of the service agencies Organizing extra-curricular activities Providing both full-time and part-time work sources for students 3) Arranging preparation activities for work and entry

3. Student development plan to have complete implementation, including 1) organizing activities to promote the characteristics of the graduates of the faculty 2) The organization of activities to promote graduate characteristics in accordance with the standards of learning outcomes according to the National Qualifications Framework, namely morality, ethics, knowledge activities Intellectual skills activities Activities, interpersonal skills and responsibilities Activities for numerical analysis skills Communication and Information Technology Use 3) The organization of activities that produce learners’ results in accordance with the national educational standards And the standard of higher education is being an expert Being an innovator And being a strong citizen, and 4) organizing activities to educate and promote quality assurance skills for students.

4. The faculty organized preparatory activities for work upon graduation for students. As well as providing channels for providing information and knowledge that are useful for alumni careers. Including adding new technologies according to the science of development or changing the application of knowledge according to changes in modern economy

5. The faculty assessed service quality. Successful assessments are made based on the objectives of the activity. Success is assessed according to the objectives of the student service plan. And assessing success according to the objectives of the student development activities plan By quality of service provision and activity arrangement in every sub-item Get a quality evaluation of not less than 3.51 from a full score of 5

6. The faculty used the quality assessment results from item 5 to improve the plan. Improve student services and improve student activities It is a work process development. In order to give higher evaluation results Or to meet the expectations of students Or for higher quality students Continuously

Assessment criteria

Score 1

Score 2

Score 3

Score 4

Score 5

Has action

1 item

Has action

2 items

Has action

3 – 4 items

Has action

5 items

Has action

6 items

Operational Results

ในการส่งเสริมให้นักศึกษามีสมรรถนะสำคัญตามที่หลักสูตรกำหนด และคณะคาดหวัง  โดยคณะฯได้ดำเนินการในลักษณะที่สำคัญ ๆ ดังนี้

   1. คณะมีการจัดทำแผนการบริการนักศึกษา และแผนพัฒนานักศึกษา โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในภาพรวมของคณะ ด้วยการสำรวจความต้องการของนักศึกษาในการพัฒนางานและพัฒนาตนเอง แล้วจัดทำเป็นโครงการส่งเสริมศักยภาพนักศึกษา บางโครงการ นักศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบหลักภายใต้การนิเทศของอาจารย์ เช่น โครงการค่ายภาษาอังกฤษ  วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นต้น เฉพาะในปี 2564 ดำเนินการในลักษณะ Virtual Camp เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โควิด-19 โครงการที่มุ่งโดยตรงต่อการพัฒนานักศึกษา ประกอบด้วยโครงการหลัก 8 โครงการ จาก 16 โครงการ ของปีการศึกษา 2564 ที่กำหนดอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงกำหนดแผนเสริมประบการณ์หรือดูแลนักศึกษาต่อเนื่อง ด้วยระบบ Family System  ในปี  2562-2565 จัดเป็น 6 Families ช่องทางในการดูแลใช้วิธีการ 1) การพบกับอาจารย์ที่ปรึกษาเดือนละ อย่างน้อย 2 ครั้ง  2) การประชุมออนไลน์ร่วมกับคณบดี 2 ครั้งต่อภาคเรียน   ยกเว้นนักศึกษาปี 1 จะพบคณบดีทุกวันศุกร์ที่ 4 ของเดือน  และ 3) การจัดตั้งกลุ่ม(Group) ใน facebook เพื่อให้นักศึกษาทุกชั้นปีได้พบปะ พูดคุย หรือแจ้งข้อมูล/หารือกับคณาจารย์และคณบดี ได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา(example of facebook Group ) รวมทั้งการจัดห้องเรียนผ่าน Google Classroom ในรายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ที่เน้นการใช้ห้องเรียนแบบคงที่เพื่อการติดตามพัฒนาการของนักศึกษา (example of Google Classroom)

   2. แผนงาน/โครงการ หรือกิจกรรมพัฒนานักศึกษาได้นำสู่การปฏิบัติอย่างครบถ้วน อาจารย์ที่ปรึกษาดูแลช่วยเหลือนักศึกษาในชั้นปีอย่างต่อเนื่อง ให้คำปรึกษาที่สำคัญๆ เช่น 1) การนำนักศึกษาฝึกทักษะภาษาอังกฤาประจำสัปดาห์ 2) การบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการ การแนะแนวด้านการใช้ชีวิตและการเข้าสู่อาชีพแก่นักศึกษาในคณะ  3)การให้ข้อมูล ทั้งข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ การจัดกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร การจัดหาแหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษา   4)การจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานและการเข้าสู่อาชีพ  ทั้งนี้ ในช่วงปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ทุกปีการศึกษา คณบดีจะสอนเรื่อง การจัดทำแผนพัฒนาตนเองระยะ 4 ปี เพื่อก้าวสู่การเป็นบัณฑิตที่มีศักยภาพสูง สอนให้นักศึกษาแต่ละคนกำหนดเป้าหมายชีวิต  เป้าหมายเกรดผลการเรียน  ปฏิทินการดำเนินชีวิตประจำสัปดาห์  พร้อมให้จัดทำ e-portfolio เป็นรายบุคคล

   3. การพัฒนานักศึกษาแบบมีจุดเน้น คณะได้ให้ความสำคัญกับ 1)การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะ เพื่อปลูกฝึกอัตลักษณ์ “ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย มีน้ำใจ และรับผิดชอบ” ควบคู่กับ “การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ” อันเป็นอัตลักษณ์ของสถาบัน 2)การจัดกิจกรรมที่มุ่งให้เกิดผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการอุดมศึกษา คือ การเป็นผู้รอบรู้ (ครอบคลุมเรื่องความรู้และทักษะทางปัญญา) การเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม(ครอบคลุมทักษะทางปัญญา การทำงานเป็นทีม และความสามารถด้านการสื่อสาร ไอซีที หรือเชิงตัวเลข)  และ การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง(การเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และอัตลักษณ์ )   และ  3)การจัดกิจกรรมให้ความรู้และส่งเสริมให้เกิดทักษะการประกันคุณภาพแก่นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีค่านิยมในการทำงานแบบรับผิดชอบ(Accountability)และมีความสามารถในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ

   4. คณะมีการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษา ตลอดจนมีช่องทางในการให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า ทั้งการเพิ่มวิทยาการใหม่ๆ ตามศาสตร์ การพัฒนาหรือการปรับเปลี่ยนการประยุกต์ใช้ความรู้ตามการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจยุคใหม่

      คณะได้จัดปัจฉิมนิเทศนักศึกษา ก่อนสำเร็จการศึกษา สอนให้ข้อคิดเรื่อง “The Five Year Plan for Beginner Teachers”  ทุกรุ่น เสนอให้นักศึกษาจัดทำแผนพัฒนาตนเองในระยะ 5 ปีแรก เพื่อก้าวสู่ความสำเร็จบนเส้นทางชีวิตครู ชี้แจงให้ทุกคนยังคงเป็นสมาชิกของ facebook-Group และเข้ากลุ่มศิษย์เก่า (Alumnai Group) เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือเสริมประสบการณ์ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ใน 5 ปีแรก หลังสำเร็จการศึกษา

   5. คณะได้ทำการประเมินคุณภาพการให้บริการนักศึกษา รวมถึงการเปิดโอกาสให้นักศึกษาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการบริการนักศึกษา และความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา  โดยสุดท้ายมุ่งไปที่การประเมินสมรรถนะสำคัญตามมาตรฐานการศึกษาชาติ 3 ประการ คือ 1) การเป็นผู้รอบรู้ (ครอบคลุมเรื่องความรู้และทักษะทางปัญญา) 2) การเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม(ครอบคลุมทักษะทางปัญญา การทำงานเป็นทีม และความสามารถด้านการสื่อสาร ไอซีที หรือเชิงตัวเลข)  และ 3) การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง(การเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และอัตลักษณ์ )

       ในการประเมินนักศึกษาชั้นปีที่ 4(หลักสูตร 5 ปี) แบบครบถ้วน 100 %(ขณะเรียนวิชา Practicum 1-2) และนักศึกษาชั้นปีที่ 3(หลักสูตร 4 ปี) ในขณะเรียนวิชา Internship 1-2   พบว่า ได้ระดับคุณภาพทั้ง 3 ด้าน  คะแนนเฉลี่ยสูงกว่า 4.00 ในระบบคะแนนเต็ม  5.00 ทุกคน

        ในการประเมินบุคลิกภาพและสมรรถนะทางวิชาชีพครูของนักศึกษาชั้นปีที่ 5 ที่ออกฝึกปฏิบัติการวิชาชีพหรือฝึกสอน พบว่า นศ.ชั้นทปีที่ 5 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 34 คน  แต่ละคนได้คะแนนผลการประเมิน ด้านบุคลิกาพ และ ทักษะการจัดการเรียนรู้  มากกว่า 4.00 ทุกคน

     ในกรณีของการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คือ ผู้สำเร็จตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู ในปี 2564(จำนวน 187 คน) พบว่า ได้คะแนนผลการประเมิน 3 ด้าน ตามข้อกำหนดของคุรุสภา คือ (1) การปฏิบัติหน้าที่ครู  (2)การจัดการเรียนรู้ และ (3)การประสานสัมพันธ์ชุมชนเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ เท่ากับ  3.79 ในระบบคะแนนเต็ม 5 หรือ ร้อยละ 75.69ของคะแนนเต็ม 100 คะแนน

6. การใช้ข้อมูลผลการประเมินเพื่อการปรับปรุงและพัฒนางาน จากการประเมินผลในข้อ 5 คณะได้ปรับปรุงระบบดูแลช่วยเหลือ โดยจัดกลุ่มนักศึกษาแบบคละชั้นปี เป็น Family System แต่ละกลุ่มจะประกอบด้วยนักศึกษาชั้นปีที่  5  4  3  2  1  และเน้นให้นักศึกษาชั้นปีที่ 2-5 จริงจังกับการพัฒนา e-Portfolio  ที่ประกอบด้วยผลงาน 7 หมวดสำคัญ คือ  1)ข้อมูลส่วนบุคค+ผลงานโดดเด่นสมัยเรียนประถมหรือมัธยม    2) การเป็นผู้มุ่งมั่นในการพัฒนาตนอย่างต่อเนื่อง 3) การเป็นผู้ทำงานอย่างเป็นระบบในลักษณะ PDCA 3) การเป็นนักวิจัย นักสร้างสรรค์ผลงาน เพื่อยกระดับคุณภาพงาน 4) การเป็นผู้รับผิดชอบต่อนักเรียน/ผู้รับบริการ เพื่อร่วมงาน ครอบครัว 5) การเป็นผู้รับผิดชอบต่อสถานศึกษา เพื่อร่วมงานและวิชาชีพ  6) การเป็นผู้มีผลงานที่ปรากฏต่อชุมชนและวงวิชาการ และ 7) การเป็นผู้เรียนในรายวิชาด้วยความมุ่งมั่น จริงจัง สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

        ในกรณีของหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ได้ปรับปรุงในเรื่องการจัดทำ E-Portfolio โดยเริ่มตั้งแต่การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ สอนเรื่องการจัดทำ E-Portfolio ผ่าน WIX.COM ….ให้นักศึกษานำเสนอ E-Portfolio ตั้งแต่ต้นภาคเรียนในการเรียนรายวิชา Practicum ในภาคเรียนแรก  แล้วมอบหมายให้ทุกคนเริ่มสั่งสมผลงานอย่างต่อเนื่องให้พร้อมสำหรับการนำเสนอ(Submit) E-Portfolios เมื่อจบการศึกษา เพื่อขอรับในอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ต่อคุรุสภา โดยเริ่มที่ผู้เข้าเรียนตั้งแต่ ปี 2562 เป็นต้นไป  ซึ่งพบว่า นักศึกษาที่เข้าเรียนปีการศึกษา 2564 สามารถสร้างแฟ้มสะสมงานที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น มีผลงานที่น่าสนใจ รวมถึงผลงานตีพิมพ์ในระดับชาติ  และ ทุกคน มีผลงานที่ดี(Good Practices Products) ที่สามารถนำเสนอต่อที่ประชุมออนไลน์ ทุกคน (ตัวอย่าง E-Portfolio)

        สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4-5 (รุ่นปีการศึกษา 2017 และ 2018) เพื่อเน้นให้นักศึกษาเข้าสู่วิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงไปได้ปรับเปลี่ยนให้เน้นสร้าง E-Teaching Portfolio ที่สามารถเผยแพร่ต่อชุมชนในวงกว้างได้ และง่ายต่อการยื่นขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ รวมทั้งเป็นประโยชน์กับนักศึกษาในการสมัครงาน ทั้งนี้ นักศึกษาหลายคน ได้นำเสนอ E-Portfolio ต่อที่ประชุม KM ของวิทยาลัย ใน KM-Day(ตัวอย่าง E-Portfolio)

….จากการถอดบทเรียน คณะได้บทเรียนที่ดี คือ 1) การสำรวจ Baseline Competence ของนักศึกษา เป็นการตรวจสอบฐานสมรรถนะที่สำคัญในช่วงรับเข้าเรียน และวิเคราะห์ความเสี่ยงของนักศึกษาแต่ละคน เพื่อส่งข้อมูลให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา จะได้รู้จักและเตรียมให้การช่วยเหลือที่ตรงกับความต้องการจำเป็นเพื่อลดอัตราเสี่ยงในการตกออก ถือเป็นวิธีการที่มีแนวโน้มเกิดประสิทธิผลที่ดี  2) การให้นักศึกษา ป.บัณฑิต นำเสนอ E-Portfolio ในวันสัมภาษณ์ จะช่วยให้เห็นศักยภาพพื้นฐานของนักศึกษาแต่ละคน และถือเป็นการวัดทักษะ ICT ในตอนเริ่มต้นเข้าเรียนไปในตัว  3) E-Teaching Portfolio ของนักศึกษา ควรประกอบด้วยเมนูที่สำคัญ คือ Personalized Learning Community(PLC ROOM) ที่สะดวกอย่างยิ่งต่อการนิเทศ ช่วยเหลืออนักศึกษาเป็นรายบุคคล ซึ่งนักศึกษาอาจสร้าง Jamboard ไว้ใน E-Portfolio 4) E-Portfolio ของนักศึกษาควรสะท้อนให้เห็นผลงานดดดเด่นในอดีต  ผลงานหรืองานการเรียนหรือโครงการสำคัญ ๆ ในปัจจุบัน และ ผลงานที่คาดว่าว่าจะทำหรือพัฒนาในระยะ 1-3 ปี

เรียน คณะได้บทเรียนที่ดี คือ 1) การสำรวจ Baseline Competence ของนักศึกษา เป็นการตรวจสอบฐานสมรรถนะที่สำคัญในช่วงรับเข้าเรียน และวิเคราะห์ความเสี่ยงของนักศึกษาแต่ละคน เพื่อส่งข้อมูลให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา จะได้รู้จักและเตรียมให้การช่วยเหลือที่ตรงกับความต้องการจำเป็นเพื่อลดอัตราเสี่ยงในการตกออก ถือเป็นวิธีการที่มีแนวโน้มเกิดประสิทธิผลที่ดี  และ 2) E-Teaching Portfolio ของนักศึกษา ควรประกอบด้วยเมนูที่สำคัญ คือ Personalized Learning Community(PLC ROOM) ที่สะดวกอย่างยิ่งต่อการนิเทศ ช่วยเหลืออนักศึกษาเป็นรายบุคคล

Evidences

1.3.(1)ตัวอย่างสื่อในการปฐมนิเทศนักศึกษา
1.3(2) ตัวอย่างการจัดกลุ่มปรึกษาหารืองานผ่าน facebook group
1.3(3) ตัวอย่างการมอบหมายให้ผู้เรียนจัดทำ portfolios
1.3(4) ตัวอย่างการจัดหมู่นักศึกษาในระบบ Families
1.3(5) ตัวอย่างแบบประเมินมาตรฐานสมรรถนะและผลการประเมิน
1.3(6) ตัวอย่างแบบประเมินฺ Baseline Competence
1.3(7) ตัวอย่าง E-Portfolio ของนักศึกษา
1.3(8) ตัวอย่าง E-Portfolio ที่นำเสนในวัน KM-Day ของวิทยาลัย
1.3(9) ตัวอบ่างผลการประเมินสมรรถนะนักศึกษา
Self-assessment
5