2.1 Research and Innovation, Management
Indicator 2.1 Research and innovation management
The type of indicator process
Indicator description
The faculty must have quality research and innovation management. With a systematic operation and complete support mechanisms To be able to have research results that are creating and applying new knowledge Creative innovation Or intellectual property Which is linked to the economic, social, cultural, or environmental conditions According to the potential and identity of the faculties and institutions There is a network of cooperation between Faculty of Higher Education Public and private organizations To make research and innovation work Meet the needs of society or community, government, private sector that are in line with the national strategy. The results of research and innovation must have a high impact on student development. Or creating a quality of life Opportunity Creating added value Or the capacity building of a country in international competition
Faculty Performance Which can reflect the quality of the research and innovation management system Considered from the implementation in accordance with the specified standard criteria
Benchmark
1. The faculty has a system and mechanism for administration and development of research and innovation. That promotes research results in accordance with institutional policies and directions That is in line with the context or needs of the community in connection with the economic, social, artistic, cultural or environmental conditions. According to the potential and identity of the faculties and institutions Or in accordance with the national strategy
2. The faculty has information systems and supports research and innovation mission. To create research and innovation results, such as research laboratories Or research unit Or the tool center Or the Center for Counseling and Research Support Library or research source for research support information Facilities or research security And academic activities that promote research and innovation
3. The faculty has allocated budgets to develop the faculty’s potential. And research and innovation personnel To fund research, innovation and creative work And to support the dissemination of research, innovation or creative work in academic conferences or publications in national or international journals. And disseminating research, innovation, or creative work in academic conferences or publications in national or international journals.
4. The faculty has developed competencies for teachers and researchers. There is to build morale. As well as praising professors and researchers with outstanding research, innovation and creative work. Or works in integrating research and teaching Or the work of integrating research and teaching and other missions in order to create research capacity for learners.
5. The faculty has established a network of collaborative research and innovation with the faculty of other higher education institutions. Or various departments For research creation Or technological innovation works Or social innovation work together
6. The faculty has systems and mechanisms to help protect the rights of the research. Or creative work And the innovation management system For the benefit of researchers And the use of research results, innovation or creative work To use academic benefits and develop strength for the community and society
7. The faculty has evaluated the impact of the research. Innovation or creative work Towards the development of learners or the quality of life Opportunity Creating added value Strengthening competitiveness According to the focus and identity of the faculty and institution
Assessment criteria
Score 1 | Score 2 | Score 3 | Score 4 | Score 5 |
Has action
1 item |
Has action
2-3 items |
Has action
4-5 items |
Has action
6 items |
Has action
7 items |
Operational Results
1. คณะมีระบบและกลไกการบริหารและพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรม เป็นระบบการปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ประกอบด้วย 1) สร้างความตระหนักรู้-awareness ให้คณาจารย์ทุกคนรับรู้ว่า การวิจัยเป็นพันธกิจสำคัญในการสร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาในทุกระดับ เป็นไปตามหลักจัดการศึกษาที่ว่า “ให้มีการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง” ซึ่งจะเป็นตามหลักนี้ได้ สถานศึกษาจะต้องอาศัยเครื่องมือสำคัญ คือ การวิจัยเพื่อพัฒนาความรู้ สร้างองค์ความรู้ และนำความรู้นั้นมาปรับปรุง-เปลี่ยนแปลทิศทางและระบบการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อย่างต่อเนื่อง 2) ปฐมนิเทศ-เสริมความรู้เกี่ยวกับประเภทและลักษณะงนวิจัยที่ควรดำเนินการ สำหรับคณาจารย์ใหม่ โดยประกาศจุดเน้นสนับสนุนการวิจัย 4 ประเภท คือ วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตร วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านศึกษาศาสตร์ วิจัยประยุกต์เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และวงวิชาการ และ การวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการของหน่วยงานทางการศึกษาหรือหน่วยบริการสังคมทั่วไปรวมทั้งการเสริมความรู้เกี่ยวกับทักษะการวิจัย ตามสภาพความต้องการจำเป็น 3) การวางแผน จัดทำโครงการสนับสนุนการวิจัย และปฏิทินการขับเคลื่อนงานวิจัยในรอบปีและการสนับสนุนทุนวิจัย ตามเงื่อนไขของสถาบัน และการสรรหาแหล่งทุนจากภายนอก และการจัดสรรทุนวิจัยจากโครงการบริการทางวิชาการที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภายนอกที่ดำเนินการในลักษณะ The Program Effectiveness Research 4) พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม 5) ร่วมมือกับสถาบันเพื่อพิจารณาจัดสรรทุนวิจัยประจำปี และร่วมมือกับสถาบันอื่น ๆ เพื่อการวิจัยแลัะพัฒนานวัตกรรม 5) กำกับ ติดตาม นิเทศงานโครงการวิจัยโดยกรรมการบริหารคณะ และคณาจารย์อาวุโส 6) สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการความรู้ด้านการวิจัย และส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัยรูปแบบต่าง ๆ และ 7) ติดตาม ตรวจสอบ การใช้ผลการวิจัยและวิเคราะห์ปัญหา-ความต้องการจำเป็นที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เพื่อการวางแผนส่งเสริมการวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย เป็นผู้กำกับ ดูแลให้เกิดการพัฒนาการวิจัยตามระบบดังกล่าวข้างต้นนี้
2. คณะมีระบบสารสนเทศและสิ่งสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยและนวัตกรรม เป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ร่วมกับสถาบัน(STIC MIS) เป็นสิ่งสนับสนุนเพื่อเกิดการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรม เช่น ห้องปฎิบัติการวิจัย หรือหน่วยวิจัย หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัย ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัย และกิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยและนวัตกรรม เช่น ห้องออนไลน์เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย ฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้จากคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิจัย เป็นต้น
ปัจจุบัน คณะศึกษาศาสตร์มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (Management Information System-MIS) ซึ่งเป็นระบบที่คณะใช้ร่วมกับวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ให้มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันในการทำวิจัย และสร้างโอกาสในการพัฒนาคณาจารย์ด้านงานวิจัย โดย (1) คณะผู้บริหารของคณะฯ สามารถนำข้อมูลด้านการวิจัยจากระบบ MIS มาตรวจสอบเพื่อตรวจสอบความซ้ำซ้อนของงานวิจัย และเพื่อส่งเสริมให้เกิดความหลากหลายของงานวิจัย รวมถึงเป็นข้อมูลในการตัดสินใจในการมอบหมายภาระงานสอนหรืองานด้านอื่น ๆ และเป็นข้อมูลที่สามารถนำมาพัฒนา และยก ระดับงานวิจัยให้ไปสู่ระดับนานาชาติมากขึ้น (2.1.1.1) (2) แหล่งการเผยแพร่ ระบบ MIS ทำให้คณะฯ มีข้อมูลในการตัดสินใจว่างานวิจัยในปีต่อไปควรพัฒนาให้มีแหล่งเผยแพร่ให้เป็นที่ยอมรับ และขยายวงกว้างออกไปจากเดิมให้มากขึ้น รวม ทั้งระบบ MIS ที่แสดงถึงแหล่งการเผยแพร่ยังสามารถบ่งบอกถึงศักยภาพและคุณภาพของงานวิจัยของอาจารย์แต่ละท่านได้ (2.1.1.2)
3. คณะมีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพคณาจารย์ และบุคลากรด้านการวิจัยและนวัตกรรม โดยจัดตั้งงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็นทุนวิจัยนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ และเพื่อสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยนวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ปีละ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยนวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ
คณะได้ตั้งงบประมาณเพื่อการวิจัยไว้ที่สำนักวิจัย โดยวิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนเงินทุนเพื่อทำวิจัยให้แก่อาจารย์ (2.1.3.1) ในปีการศึกษา 2564 คณะศึกษาศาสตร์ได้รับงบอุดหนุนการวิจัยภายในรวมทั้งสิ้น 380,000 บาท (2.1.3.2) ซึ่งรวมถึงจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ
4. คณะมีการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และนักวิจัย มีการสร้างขวัญและกำลังใจ ตลอดจนยกย่องอาจารย์และนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ดีเด่น หรือผลงานในการบูรณาการการวิจัยกับการเรียนการสอน หรือผลงานบูรณาการการวิจัยกับการเรียนการสอนและพันธกิจอื่นๆเพื่อสร้างสมรรถนะการวิจัยแก่ผู้เรียน บทบาทที่โดดเด่นในด้านนี้ คือ การส่งเสริมให้ใช้กลยุทธ์การสอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐานวิจัย(Research-Based Instructional Strategies -RBIS) โดยให้คณาจารย์แต่ละรายวิชาออกแบบการวิจัยที่บูรณาการในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งการให้คณาจารย์ที่รับผิดชอบโครงการบริการทางวิชาการ ได้ทำการทดลอง วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการบริการทางวิชาการ ทั้งการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมต้นแบบ(Research and Development) หรือการวิจัยประเมินผลโครงการ(Evaluation Research or The Program effectiveness Research) โดยมุ่งหวังให้อาจารย์ทำวิจัยบูรณาการผ่านรายวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง ต่อคน ต่อ ปี
5. คณะมีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยและนวัตกรรม กับคณะ สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ หรือหน่วยงานต่างๆ เพื่อการสร้างผลงานวิจัย หรือผลงานนวัตกรรมทางเทคโนโลยี หรือผลงานนวัตกรรมทางสังคมร่วมกัน หน่วยงานเครือข่ายเพื่อการร่วมมือ เช่น สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) โดย คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ เป็นกรรมการสนับสนุนทุนการวิจัยของ สมศ. หรือโครงการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในประเทศฟิลิปปินส์ โดยมีโครงการพัฒนางานวิจัยและวิชาการระหว่างคณะศึกษาศาสตร์กับคณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย Iloilo ประเทศฟิลิปปินส์ (2.1.5.2) เป็นต้น
6. คณะมีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ และระบบการบริหารจัดการนวัตกรรม เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักวิจัย และการนำผลงานวิจัย นวัตกรรม หรืองานสร้างสรรค์ ไปใช้ประโยชน์เชิงวิชาการและการพัฒนาความเข้มแข็งให้กับชุมชนสังคม ในปัจจุบันได้ร่วมกับวิทยาลัยในการกำกับ ดูแล คุ้มครองสิทธิ์ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์
7. คณะมีการดำเนินการประเมินผลกระทบของผลงานวิจัย นวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ เป็นการดำเนินการร่วมกันกับคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัยของสถาบัน ศึกษาผลกระทบที่มีต่อการพัฒนาผู้เรียน หรือ การสร้างคุณภาพชีวิต การสร้างโอกาส การสร้างมูลค่าเพิ่ม การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ตามจุดเน้นและอัตลักษณ์ของคณะ และสถาบัน
ในปีการศึกษา 2564 คณะกระตุ้นให้คณาจารย์รายบุคคล พัฒนา E-Portfolio แบะใช้ E-Portfolio ของตนเแผ้นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย บริการทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอน และการเชื่อมโยงไปยังแหล่งผลผลิตทางวิชาการอื่น ๆ ของตนในลักษณะของ Portfolio as the Personalized Learning Community
Evidences
Self-assessment |
5 |