ข้อเสนอแนะการดำเนินการ (ปีการศึกษา 2564)

ผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2564

StandardQuality IndicatorsAssessment ResultsAssessment Level
Component 1Learner Outcome3.79Good
Component 2Research and Innovation5Very Good
Component 3Academic Services5 Very Good
Component 4Arts and Culture and Thainess5 Very Good
Component 5Administration and Management5 Very Good
Overall Average Score4.56Very Good

Note IF Score>4 = “Very Good” , Score>3 = “Good” , Score>2 =”Fair” and Score>=0 = “Need Improve”

       ผลดำเนินการในการประกันคุณภาพภายใน ระดับคณะวิชา คณะบริหารธุรกิจ คณะกรรมการพบว่ามีจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในภาพรวมดังนี้
จุดเด่น
       1. คณะบริหารธุรกิจมีการดำเนินงานในการบริหารจัดการตามระบบและกลไกอย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัดตามเกณฑ์คุณภาพ STIC-QA
       2. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลวารสารระดับนานาชาติจำนวนมาก
       3. คณะบริหารธุรกิจได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภายนอกเป็นจำนวนมาก
จุดควรพัฒนา
       1. สนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ประจำหลักสูตรเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น
       2. นำข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาด้านภาษาอังกฤษและทักษะของนักศึกษาในปีที่ผ่านมาวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อหาแนวทางในการพัฒนานักศึกษาให้มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น

      3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ผลิตผลงานวิชาการรายบุคคลและสอดคล้องกับศาสตร์ในสาขาวิชาของแต่ละบุคคลให้มากขึ้น เพื่อประโยชน์ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ

      4. มีแผนการบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับจำนวนนักศึกษาใหม่ที่ชัดเจน

      5. หาแนวทางในการเพิ่มจำนวนนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการประเมินทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21

การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามรายมาตรฐาน

       การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2564 ของคณะ บริหารธุรกิจ ตามมาตรฐานของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา (STIC-QA) พ.ศ. 2561 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีดังนี้
มาตรฐานที่ 1 : ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม
1. สนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์ประจำหลักสูตรเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการมากขึ้น
2. นำข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาด้านภาษาอังกฤษและทักษะของนักศึกษาในปีการศึกษาที่ผ่านมาวิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อหาแนวทางในการพัฒนานักศึกษาให้มีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น
3. ส่งเสริมและสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตรผลิตผลงานทางวิชาการรายบุคคลและสอดคล้องกับศาสตร์ในสาขาวิชาของแต่ละบุคคลให้มากขึ้น เพื่อประโยชน์ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ

4. หาแนวทางในการเพิ่มจำนวนนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการประเมินทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 2 : ด้านการวิจัยและนวัตกรรม

จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

  1. คณาจารย์มีผลงานวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลวารสารระดับนานาชาติจำนวนมาก
  2. คณะบริหารธุรกิจได้รับการสนับสนุนทุนการวิจัยจากภายนอกจำนวนมาก

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 3 : ด้านการบริการวิชาการ
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 4 : ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 5 : ด้านการบริหารจัดการ
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
1. มีแผนบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับจำนวนนักศึกษาใหม่ที่ชัดเจน

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น