ข้อเสนอแนะการดำเนินการ(ปีการศึกษา 2564)

ผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2564

StandardQuality IndicatorsAssessment ResultsAssessment Level
Component 1Regulatory Standards PassPass
Component 2Graduates 4.16Very good
Component 3Students 4.33 Very good
Component 4Instructors 4.11 Very good
Component 5Curriculum, Learning Management and Learning Support Resources 4.00 Good
Overall Average Score4.14 Very good

Note IF Score>4 = “Very Good” , Score>3 = “Good” , Score>2 =”Fair” and Score>=0 = “Need Improve”

       ผลดำเนินการในการประกันคุณภาพภายใน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบิน (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) คณะกรรมการพบว่ามีจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในภาพรวมดังนี้
จุดเด่น
       1. หลักสูตรได้มีการวางระบบกลไก มีการดำเนินการตามระบบ และกลไกและมีการปรับปรุงพฒั พัฒนาตัวระบบและกลไกอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี
       2. นักศึกษามีผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการการเรียนการสอน ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพของตนเองต่อไปได้
จุดควรพัฒนา
       1. ควรมีการพัฒนาอาจารย์ในด้านคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการให้มากขึ้น
       2. หลักสูตรควรมีการกำหนดแนวทางเพื่อที่จะให้มีแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Best Practice)

การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามรายมาตรฐาน

       การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2564 ของหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการบิน (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) ตามมาตรฐานของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา (STIC-QA) พ.ศ. 2561 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีดังนี้
มาตรฐานที่ 1 : ด้านการกำกับมาตรฐาน
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

มาตรฐานที่ 2 : ด้านบัณฑิต
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

มาตรฐานที่ 3 : ด้านนักศึกษา
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม
1. นักศึกษามีผลผลิตที่เกิดจากกระบวนการการเรียนการสอน ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพของตนเองต่อไปได้
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

มาตรฐานที่ 4 : ด้านอาจารย์
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรมีผลงานทางวิชาการตีพิมพเ์ผยแพร่ในวารสารระดับ นานาชาติให้เพิ่มมากขึ้น
2. ควรมีการพัฒนาอาจารย์ในด้านคุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการให้มากขึ้น
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรมีนวัตกรรมทางวิชาการ ที่มีผลผลิตที่เป็นรูปธรรมให้ชัดเจนมากขึ้น สามารถนำไปใช้ในการสอนได้

มาตรฐานที่ 5 : ด้านหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
1. หลักสูตรควรวางแผนเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลผลลัพธ์ที่เกิดจาการปรับปรุงระบบและกลไกที่เกิดจากการบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อการปรับปรุงหลักสูตรให้ดีขึ้นในปีต่อๆ ไป
2. หลักสูตรควรนำนวัตกรรมวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมาใช้ในการบูรณาการกับพันธกิจอื่นๆ ในการจัดการเรียนรู้

 

Leave a Reply