Criterion 4 – Student Assessment

Criterion 4 – Student Assessment

AUNQA requirements for Criterion 4

TRSU QA uses each one of AUNQA criterion requirements below to assess the relevant QA practice of a program.

4.1 Assessment alignment

A variety of assessment methods are shown to be used and are shown to be constructively aligned to achieving the expected learning outcomes and the teaching and learning objectives.

Diagnostic questions
  • To what extent do the assessments and examinations cover the content of the courses and the programme (content validity)?
  • To what extent do the assessments and examinations cover the objectives of the courses and of the programme as a whole (construct validity)?
  • Are a variety of assessment methods used? What are they?
  • Are the assessment methods constructively aligned to achieving expected learning outcomes? How are the constructive alignment evaluated?
4.2 Assessment and appeal policies

The assessment and assessment-appeal policies are shown to be explicit, communicated to students, and applied consistently.

Diagnostic questions
  • Are there clear regulations for assessment or examination? How are they communicated to students?
  • Are they applied consistently?
  • Are the students satisfied with the assessment procedures? Do students have complaints?
  • What is the appeal procedure? Did the students appeal? What is the cause?
4.3 Assessment for completion

The assessment standards and procedures for student progression and degree completion, are shown to be explicit, communicated to students, and applied consistently.

Diagnostic questions
  • Is there an assessment for students to progress to a higher level? When and how is it conducted?
  • Is there an assessment for students to complete a degree and receive an award? How is it applied?
4.4 Assessment criteria

The assessments methods are shown to include rubrics, marking schemes, timelines, and regulations, and these are shown to ensure validity, reliability, and fairness in assessment.

Diagnostic questions
  • Is the assessment criterion-referenced?
  • Are all the courses required to have rubrics and marking scheme for the assessment?
  • How are validity, reliability and fairness assured in assessment?
  • Are there safeguards in place to ensure objectivity?
4.5 Measuring achievement

The assessment methods are shown to measure the achievement of the expected learning outcomes of the programme and its courses.

Diagnostic questions
  • What are the assessment methods for the achievement of course learning outcomes? How are the achievement measured?
  • What are the assessment methods for the achievement of program learning outcomes? How are the achievement measured?
  • Is there a relationship between the achievement of courses and program learning outcomes? How is this explained?
4.6 Assessment feedback

Feedback of student assessment is shown to be provided in a timely manner.

Diagnostic questions
  • Is feedback of student assessment required by every course? When and how is the feedback provided to students?
  • Does the feedback help improve student performance in the final assessment? Why or why not?
4.7 Assessment review

The student assessment and its processes are shown to be continuously reviewed and improved to ensure their relevance to the needs of industry and alignment to the expected learning outcomes.

Diagnostic questions
  • When is the student assessment and processes reviewed? What is the review procedure?
  • What aspects of student assessment are subject to review or improvement?
  • How is the student assessment considered relevant to the need of industry?
  • How is the alignment of student assessment to the ELOs evaluated? How might it be improved?
Scoring for TRSU QA
TRSU-QA score12345
Items showing
QA practice
1 item2-3 items4-5 items6 items6 items +4.7
AUNQA scoring rubrics

A seven-point rating scale used for AUNQA assessment is described below.

1. Absolutely inadequate

The QA practice to fulfil the criterion is not implemented
There are no plans, documents, evidences or results available. 
Immediate improvement must be made.

2. Inadequate and improvement is necessary

The QA practice to fulfil the criterion is still at its planning stage or is inadequate where improvement is necessary. 
There is little document or evidence available. 
Performance of the QA practice shows little or poor results.

3. Inadequate but minor improvement will make it adequate

The QA practice to fulfil the criterion is defined and implemented but minor improvement is needed to fully meet them. Documents are available but no clear evidence to support that they have been fully used. Performance of the QA practice shows inconsistent or some results.

4. Adequate as expected

The QA practice to fulfil the criterion is adequate and evidences support that it has been fully implementedPerformance of the QA practice shows consistent results as expected.

5. Better than adequate

The QA practice to fulfil the criterion is better than adequate. Evidence supports that it (the QA practice) has been efficiently implemented. Performance of the QA practice shows good results and positive improvement trend.

6. Example of best practice

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be example of best practices in the field. Evidences support that it has been effectively implemented
Performance of QA practice shows very good results and positive improvement trend.

7. Excellent (example of world-class or leading practice)

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be excellent or is an example of world-class practices in the field. Evidences support that it has been innovatively implemented. 
Performance of the QA practice shows excellent results and outstanding improvement trends.

Guide to writing a self-assessment report (SAR)
  • The report is the account of the self-assessment. It is not only descriptive but also analytical. It identifies and evaluates the problems and also provides an indication of how the problems identified will be dealt with. (Use the diagnostic questions provided in each of the AUN-QA criteria to do this.)
  • Illustrate clearly what, where, when, who, and how the QA mechanisms or instruments are implemented and managed to fulfil the criteria. This will help to piece all related information together.
  • Focus on information and data (objective evidences) that directly address the criteria. The report has to be concise and factual. Provide trends and statistics to show achievement and performance.
What is the QA practice to fulfil the criterion?

Quality assurance practice should mean QA plan that evaluates and/or modifies organization’s procedures to ensure that they provide the desired results. The QA plan documents the planning, implementation and assessment procedures for a project, process or any QA activity.
The QA plan should provide information about some or all of the following.

  • An overview of the project or process describing background, need, scope, activities, and deadlines;
  • Quality objectives to be attained (for example, characteristics, effectiveness, cycle time, cost, etc.);
  • Steps in the process that constitute the operating practice or procedures of the organization;
  • Allocation of responsibilities, authority, and resources for different phases of the project/process;
  • Specific document describing standards, practices, procedures, and instructions to be applied;
  • Suitable testing, inspection, examination, and audit programs at appropriate stages;
  • A documented procedure for changes and modifications to a quality plan as a process is improved;
  • A method for measuring the achievement of the quality objectives;

    (Source: https://asq.org/quality-resources/quality-plans)

Operational Result

4.1 A variety of assessment methods are shown to be used and are shown to be constructively aligned to achieving the expected learning outcomes and the teaching and learning objectives.

การดำเนินการ

        สาขาวิชาฯ ได้มีการประชุมปรึกษาหารือกันเกี่ยวกับการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียนภายในหลักสูตร เพื่อให้บรรลุตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและวัตถุประสงค์ในหลักสูตร โดยจัดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาออกแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่ระบุไว้ในแต่ละรายวิชา และทำการอัพโหลดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง แผนการเรียนการสอน และกิจกรรมที่ดำเนินการในระหว่างการเรียนการสอนทั้งหมดลงในระบบ MIS TQF 3  และแจ้งให้นักศึกษาทราบในระหว่างการเรียนการสอน พร้อมทั้งอธิบายผลการประเมินผลคะแนนกรือเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละกิจกรรมลงในระบบ MIS TQF 5 โดยคะแนนในการการทดสอบและประเมินผลสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ คะแนนในการทดสอบกลางภาค (Mid-Term) มีเกณฑ์การให้คะแนนอยู่ที่ 20 คะแนน คะแนนสอบปลายภค (Final) มีเกณฑ์การให้คะแนนอยู่ที่ 60 คะแนน และอีก 20 คะแนน ที่เหลือจะเป็นคะแนนของการเข้าชั้นเรียน การทำกิจกรรม การนำเสนอผลงานหรืองานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละรายวิชา

        ซึ่งในแต่ละภาคการศึกษาข้อสอบทั้งกลางภาคและปลายภาคนั้น จะถูกส่งไปตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญของแต่ละรายวิชา เช่น หัวหน้าสาขาวิชาฯ คณบดี และอธิการบดี อย่างเข้มข้น เพื่อให้ข้อสอบที่ออกมานั้นตรงตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ของแต่ละรายวิชา และเป็นไปตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยฯ โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องดำเนินการดำเนินการออกข้อสอบพร้อมทั้งแจกแจงข้อสอบในแต่ละข้อลงใน Test-Blueprint ว่าต้องการวัดผลการเรียนรู้ในหัวข้อใดบ้าง และจะมีการประเมินการให้คะแนนในแต่ Part หรือในแต่ละ Section อย่างไร เพื่อให้ทั้งผู้ตรวจสอบข้อสอบ และนักศึกษาสามารถรับรู้ได้ถึงการให้คะแนนว่ามีความเหมาะสมและเป็นธรรมในการประเมินการให้คะแนนหรือไม่

ตัวอย่าง Test-Blueprint รายวิชา 233 201 Air Navigation & Communication

        ภายหลังการทดสอบของแต่ละรายวิชา อาจารย์ผู้สอนจะต้องมีการอภิปรายผลเกี่ยวกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังใน TQF 5 ด้วยว่า แต่ละสัปดาห์ได้มีการเรียนการสอนอะไรบ้าง และนักศึกษาได้รับอะไรจากการเรียนการสอนในแต่ละสัปดาห์ พร้อมทั้งสรุปผลเกณฑ์การประเมินการคะแนนหรือเกรดในแต่ละสัปดาห์ว่ามีการวัดผลการให้คะแนนอย่างไร

ตัวอย่างการวัดผลตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Assessment of Learning Outcome)

Topic and summary
of taught concept

Plan hrs.

Essential, analytical
or conceptual question
that the students have been able
to solve or answer

% for
grading

Topic: 1 – Introduction, Week(s): 1, Time: 3 hrs.

3 Hrs

1. What is the primary purpose of air navigation?

a. To monitor ocean currents

b. To study atmospheric phenomena

 c. To facilitate ground transportation

d. To track wildlife migration patterns

e. To ensure efficient and safe movement of aircraft

2. Why is accurate air navigation crucial for aviation safety?

a. To reduce fuel consumption

b. To entertain passengers during flights

c. To prevent mid-air collisions and ensure proper routes

d. To monitor weather conditions for pilot enjoyment

e. To provide scenic views for passengers

– Midterm Exam: 2 – Class Participation: 0.2 – Assignments or Quizzes: 1.5

Topic: 2 – Aeronautical Charts, Week(s): 2, Time: 3 hrs.

3 Hrs

Refer the graph carefully and answer the following questions. Each right answer carries 1 Mark. (See Figure 5 in Appendix)

a. What is the control tower frequency of Pounds Airport?

b. What is the elevation of Pounds Airport?

c. What do the tick marks on the airport diagram indicate?

 d. What does the star symbol above the airport diagram indicate?

e. Does the control tower at Pounds Airport operate full time? f. You can use the frequency 122.3 located on top of the navaid box to communicate with what facility?

– Midterm Exam: 3 – Class Participation: 0.3 – Assignments or Quizzes: 1.5

Topic: 3 – Latitude and Longitude (Meridians and Parallel), Week(s): 3, Time: 3 hrs.

3 Hrs

Find the Universal Time Co-ordinated, when the local time is 2200 hrs on 16th April with the local longitude of 100°12´W.

– Midterm Exam: 3 – Class Participation: 0.4 – Assignments or Quizzes: 2

Topic: 4 – Effect of wind, Week(s): 4, Time: 3 hrs.

3 Hrs

Assume that you are ordered by your supervisor to make a flight plan for a Cessna 172 aircraft, which is going to fly from BSCI Aerodrome in Bangkok to Khon Kaen Flight School. The true Course is 085°. From the National Weather Service, it is learned that the wind at 7000 feet altitude of the intended flight is 12 knots, and the direction is 320° and the temperature is +22°C. The Indicated Air Speed of the aircraft is 105 knots.

Read the scenario carefully and answer the following:

a. Estimate the Ground Speed of the Aircraft

b. Determine the Wind Correction Angle

c. From the Aeronautical Charts, it was found that this location has a variation of 012°E. Calculate the Magnetic Heading of this aircraft.

d. Compute the Compass Heading for this aircraft

e. If the distance measured is 240 NM, estimate the time taken to reach the destination.

 f. If the fuel consumption is found to be 8.5 gallons per hour, how much fuel will be required for the trip?

– Midterm Exam: 3 – Class Participation: 0.4 – Assignments or Quizzes: 2.5

Topic: 5 – Basic Calculations, Week(s): 5, Time: 3 hrs.

3 Hrs

An airplane makes a 185 nautical mile flight on a true course of 320°. The wind is at 270° at 11 knots, and airplane has a true airspeed of 110 knots and a fuel burn rate of 14 gallons per hour. How much fuel is used for the flight?

– Midterm Exam: 2 – Class Participation: 0.4

Topic: 6 – Pilotage and dead reckoning, Week(s): 6, Time: 3 hrs.

3 Hrs

Create a logical sequence to follow in charting the course and filing a flight plan. Use the sectional chart attached to create the plan. Route of the flight : Chickasha Airport Direct to Guthrie Airport

Flight Number : N325DB

True Air Speed : 115 knots

Winds aloft : 360 degrees at 10 knots

Usable fuel : 38 Gallons

 Fuel Rate : 8 GPH

Deviation : +2°

Identify the appropriate check points and give the reasons for choosing those check points.

What is the altitude to be maintained throughout the flight and justify your choice?”

– Midterm Exam: 3 – Class Participation: 0.4

Topic: 7 – Group Presentation, Week(s): 7, Time: 3 hrs.

3 Hrs

“The Students were able to:

• Understand the Key Concepts: Demonstrate a clear understanding of the core concepts related to the presentation topic.

• Analyze and Evaluate Information: Evaluate information critically and make informed judgments about the subject matter presented.

• Apply Knowledge: Apply the knowledge gained during the presentation to real-world scenarios or practical situations.

• Engage in Informed Discussions: Participate in informed discussions and contribute meaningfully to the group’s understanding of the topic.

• Demonstrate Effective Communication: Present information in a clear, organized, and engaging manner, utilizing effective communication skills.

• Collaborate Effectively: Collaborate with group members to deliver a cohesive and well-structured presentation.

• Address Questions and Concerns: Respond to questions and concerns from the audience, providing satisfactory answers and explanations.

 • Relate to Personal or Professional Context: Understand how the presentation topic relates to personal or professional contexts and can be applied to real-life situations.

• Identify Areas for Further Learning: Recognize areas where further learning and exploration are needed to deepen understanding of the topic.

• Demonstrate Critical Thinking: Apply critical thinking skills to analyze, synthesize, and draw conclusions from the information presented.

• Engage in Constructive Feedback: Provide constructive feedback to fellow presenters to foster continuous improvement.

• Respect Diverse Perspectives: Show respect for diverse perspectives and opinions during discussions and debates related to the topic.”

– Midterm Exam: 4 – Class Participation: 0.4

Week(s): 8, Time: 3 hrs.

2 Hrs

MID-TERM EXAM

– Midterm Exam: 20 – Class Participation: 2.5 – Assignments or Quizzes: 7.5 Total 30 marks for midterm part

Topic: 8 – Continue of Maps or Charts and RNC/Radio Navigation Charts, Week(s): 9, Time: 3 hrs.

3 Hrs

14. If the true course is 090 ̊, and true heading is 080 ̊. What is the wind correction angle?

a. 10 ̊ R

b. 10 ̊ L

c. 10 ̊

d. 10 ̊ L and R.

 e. No angle

15. From the problem 14. What is the drift angle?

a. 10 ̊ R

b. 10 ̊ L

c. 10 ̊

d. 10 ̊ L or R

e. No angle

– Final Exam: 8 – Class Participation: 0.3

Topic: 9 – VFR and IFR , the Rule of VFR and IFR for Flight Planning, Week(s): 10, Time: 3 hrs.

3 Hrs

What are the VFR and IFR flight criteria?

What are the positions (compulsory and non-compulsory reporting point) that pilots must report when entering aerodrome, approach, and area responsibility?

Which route is suitable for the flight?

– Final Exam: 8 – Class Participation: 0.3 – Assignments or Quizzes: 1.5

Topic: 10 – – Radio Navigation Aids, NDB/ADF, VOR, DME Tacan, ILs and GPS. , Week(s): 11 Time: 3 hrs.

3 Hrs

19. If TH= 120 ̊ and variation 10 ̊E and deviation, 3 ̊W. What is MH?

 a. 110 ̊

b. 130 ̊

c. 113 ̊

d. 107 ̊

e. 132o

20.From problem 19. What is compass heading (CH)?

a. 110 ̊

 b. 133 ̊

c. 113 ̊

d. 107 ̊

e. 132o

– Final Exam: 11 – Class Participation: 0.3 – Assignments or Quizzes: 2

Topic: 10 – – Radio Navigation Aids, NDB/ADF, VOR, DME Tacan, ILs and GPS. , Week(s): 12 Time: 3 hrs.

3 Hrs

When the longitude 120 ̊E, is LMT(Local Mean Time), 29 1800 on June 2024. What is the GMT(Greenwich Mean Time) or UTC(Universal Time-Coordinated)?

 a. 300200, On June 2024

b. 291000, On June 2024

c. 300600, On June 2024

d. 291400, On June 2024

e. 301400, On June 2024

– Final Exam: 10 – Class Participation: 0.4

Topic: 11 – Revision the how to presentation the Working Group of GNSS/GPS, GLONASS and Galileo., Week(s): 13, Time: 3 hrs.

3 Hrs

8. The one minute of arc of great circle is…………….

a. 1 Statute mile

b. 1 nautical mile.

c. 1 kilometer

d. 1 meter.

e.1 inch 9.

How many feet is equal 1 NM?

a. 6,080 feet.

 b. 6,780 feet.

c. 6,870 feet.

d. 6,087 feet.

e. 6,090 feet.

– Final Exam: 8 – Class Participation: 0.4

Topic: 12- Students Present the Working Group , Week(s): 14, Time: 3 hrs.

3 Hrs

The Students were able to:

• Understand the Key Concepts: Demonstrate a clear understanding of the core concepts related to the presentation topic.

• Analyze and Evaluate Information: Evaluate information critically and make informed judgments about the subject matter presented.

• Apply Knowledge: Apply the knowledge gained during the presentation to real-world scenarios or practical situations.

• Engage in Informed Discussions: Participate in informed discussions and contribute meaningfully to the group’s understanding of the topic.

• Demonstrate Effective Communication: Present information in a clear, organized, and engaging manner, utilizing effective communication skills.

• Collaborate Effectively: Collaborate with group members to deliver a cohesive and well-structured presentation.

– Final Exam: 7 – Class Participation: 0.4 – Assignments or Quizzes: 4.0

Topic: 13 – The display of the Conception of Air Navigation, Week(s): 15, Time: 3 hrs.

3 Hrs

• Solving the problems and recommending the pilots when an emergency or unexpected situation occurs about the route to be flown, altitude to be used, and heading to be going.

– Final Exam: 8 – Class Participation: 0.4

Topic: 14, Week(s): 16, Time: 3 hrs.

3 Hrs

FINAL EXAM

– Final Exam: 60 – Class Participation: 2.5 – Assignments or Quizzes: 7.5 Total 70 marks for Final part

        และเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการทั้งหมด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของนักศึกษาแต่ละคนจะถูกสะท้อนออกมาในรูปแบบคะแนนหรือเกรดของแต่ละรายวิชา

ตัวอย่างผลการเรียนรายวิชา 233 201 Air Navigation & Communication

หลักฐาน

  1. รายงานการประชุมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังประจำปี 2566
  2. ระบบ MIS TQF 3 ของแต่ละรายวิชาประจำปีการศึกษา 2566
  3. ระบบ MIS TQF 5 ของแต่ละรายวิชาประจำปีการศึกษา 2566
  4. Test Blue Print ของแต่ละรายวิชาประจำปีการศึกษา 2566
  5. ผลคะแนนการศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศประจำปีการศึกษา 2566

4.2 The assessment and assessment-appeal policies are shown to be explicit, communicated to students, and applied consistently.

การดำเนินการ

        ผลการประเมินผู้เรียนของอาจารย์ในทุกรายวิชา มีการกระจายของคะแนนเป็น Normal Curve นอกจากนี้ กรณีที่ผู้เรียนขออุทธรณ์ผลการประเมิน สามารถยื่นเรื่องผ่านประธานสาขาวิชา และ/หรือ คณบดี กรณีเป็นรายวิชาที่สอนโดยประธานสาขาวิชา ได้ภายใน 2 สัปดาห์หลังประกาศผลการศึกษาในระบบของมหาวิทยาลัยฯ โดยทางสาขาวิชาฯ ได้มีการประกาศแจ้งข่าวให้แก่นักศึกษาทุกชั้นปีทราบผ่านแอพพลิเคชั่นกลุ่มไลน์ อีเมลล์ทางการศึกษาของนักศึกษาแต่ละคน และมอบหมายให้อาจารย์ที่ปรึกษาดำเนินการเช็คเกรดของนักศึกษาในความดูแลเป็นรายบุคคลผ่านระบบ MIS ของทางมหาวิทยาลัยฯ เพื่อติดตามผลและรายงานต่อหัวหน้าสาขาวิชาฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2566 ที่ผ่านมาไม่มีนักศึกษาเข้ามายืนอุทรผลการศึกษาแต่อย่างใด

        หลักฐาน

  1. ผลการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566
  2. ตัวอย่างผลการศึกษาในระบบ MIS

4.3 The assessment standards and procedures for student progression and degree completion, are shown to be explicit, communicated to students, and applied consistently.

การดำเนินการ

หลักสูตรฯ มีมาตรฐานและขั้นตอนการประเมินความก้าวหน้าของนักศึกษาและการสำเร็จการศึกษาระดับปริญญา โดยแบ่งนักศึกษาออกเป็น 4 ช่วง ได้แก่

– นักศึกษาใหม่

– นักศึกษาที่กำลังศึกษา

– นักศึกษาใกล้จบ

– นักศึกษาก่อนจบ

มาตรฐานและขั้นตอนการประเมินนักศึกษาใหม่

มาตรฐานการประเมินนักศึกษาใหม่ 

– เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการให้การรับรอง

– เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2559

– มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ

 – มีความประพฤติดี มีความตั้งใจที่จะใช้ความสามารถของตนในการที่จะศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด

ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาใหม่  ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาใหม่เป็นไปตามระบบการรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซาดังแสดงใน ภาพที่ 4.1 แสดง Flowchart ขั้นตอนการรับนักศึกษาใหม่

ภาพที่ 4.1 แสดง Flowchart ขั้นตอนการรับนักศึกษาใหม่

มาตรฐานการประเมินนักศึกษาที่โอนย้าย 

นักศึกษาที่เคยศึกษาในหลักสูตรอื่นหรือสถาบันอุกมศึกษาอื่นมาก่อน สามารถเทียบโอนหน่วยกิต ของรายวิชาที่เทียบเท่ากับรายวิชาในหลักสูตรฯ ของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อนับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในหลักสูตรฯ ได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์การเทียบโอนให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ หรือระเบียบมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 ส่วนวิชาที่ไม่สามารถเทียบโอนได้เรียนตามหลักสูตรฯที่มหาวิทยาลัยกำหนด

(1) กรณีที่เป็นนักศึกษาที่โอนย้ายจากหลักสูตรอื่น (สถาบันเดียวกัน) ให้เป็นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้

– นักศึกษาจะขอย้ายสาขาวิชาไปคณะอื่นได้ ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและคณบดีในคณะเดิม และได้เรียนตามแผนการศึกษาในสาขาเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งภาคการศึกษาปกติ ทั้งนี้ไม่นับภาคการศึกษาที่ลาพักหรือถูกสั่งพักการศึกษา

– การย้ายสาขาวิชาไปคณะอื่นจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของสาขาวิชา และคณะนั้น ซึ่งอยู่ในดุลยพินิจของคณบดี

– เมื่อนักศึกษาได้ย้ายสาขาวิชาแล้ว รายวิชาที่เคยเรียนมาทั้งหมดจะถูกโอนนำมาคิดแต้มระดับคะแนน เฉลี่ยสะสมในสาขาวิชาใหม่ทั้งหมด

– รายวิชา ผลการเรียน และหน่วยกิตที่ได้ศึกษามาแล้ว ให้โอน และ/หรือเทียบโอนมาเป็นรายวิชาและ หน่วยกิตในหลักสูตรฯใหม่ได้ โดยต้องได้รับอนุมัติจากคณบดี ตามความเห็นชอบของคณบดี ทั้งนี้ นักศึกษาไม่ต้อง ชำระค่าธรรมเนียมโอนผลการเรียน

– การย้ายสาขาวิชาจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อได้ชำระค่าธรรมเนียมการย้ายสาขาวิชา และได้รับการเปลี่ยนรหัสประจำตัวนักศึกษาใหม่แล้ว

(2) กรณีที่เป็นนักศึกษาที่โอนย้ายจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น

มหาวิทยาลัยอาจรับโอนนักศึกษาจะทำได้ก็ต่อเมื่อสาขาวิชา/คณะที่ขอเข้าศึกษาสามารถรับได้ โดยต้องได้รับการอนุมัติจากคณบดี นักศึกษาที่จะได้รับการพิจารณารับโอนเข้าศึกษาต้องมีคุณสมบัติตามระเบียบ หรือประกาศของมหาวิทยาลัยฯ ว่าด้วยการรับนักศึกษา เงื่อนไขการรับโอนเข้าศึกษา ดังนี้

– นักศึกษาจะต้องโอนมาศึกษาในสาขาวิชาเดียวกันกับสาขาวิชาที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษาเดิม หรือเทียบเท่า อยู่ในดุลยพินิจของคณบดีโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการเทียบโอนของคณะ

– นักศึกษาต้องกำลังศึกษาอยู่ในสถาบันเดิม และได้ศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษาปกติ โดยไม่นับภาคการศึกษาที่ลาพัก

– รายวิชาเดิมที่จะนำมาพิจารณาเทียบโอน จะต้องมีผลการศึกษาในระดับคะแนนไม่ต่ำกว่า C หรือ แต้มระดับคะแนนไม่ต่ำกว่า 2.0 หรือเทียบเท่า

– จำนวนหน่วยกิตที่เทียบโอนรวมแล้ว ต้องไม่เกินกึ่งของหลักสูตรฯ

– ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมถึงภาคการศึกษาสุดท้ายก่อนการขอโอนไม่ต่ำกว่า 2.25 โดยรายวิชาและผลการศึกษาก่อนที่จะได้รับโอน ให้บันทึกตามภาค และปีการศึกษาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนตั้งแต่ แรกเข้าในสถาบันอุดมศึกษาเดิม แต่ไม่นำมาคำนวณการวัดผลการศึกษา ให้วัดเฉพาะรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนใน มหาวิทยาลัยฯ เท่านั้น

นักศึกษาที่โอนจากสถาบันอื่น ให้ใช้รหัสนักศึกษาเทียบเท่ากับปีการศึกษาแรกเข้าจากสถาบันอุดมศึกษาเดิม และมีสิทธิ์ศึกษาในมหาวิทยาลัยรวมระยะเวลาไม่เกินสองเท่าของจำนวนปีที่กำหนดไว้ในหลักสูตรฯ ของคณะที่เข้าศึกษา โดยนับรวมระยะเวลาที่ศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาเดิมด้วย

นักศึกษาที่โอนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยจะต้องมีระยะเวลาเป็นศึกษามหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่า 2 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ ไม่นับภาคการศึกษาพิเศษ

นักศึกษาจะต้องชำระค่าธรรมเนียมการโอนย้ายตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด แต่ไม่ต้องชำระค่าเทียบโอนผลการเรียน

นักศึกษาที่เคยศึกษารายวิชา หรือกลุ่มวิชามหาวิทยาลัยได้ โดยไม่จำกัดจำนวนหน่วยกิตที่ขอโอน ให้บันทึกผลการศึกษาด้วยรหัสวิชา และชื่อตามหลักสูตรฯที่ใช้ กับรุ่นที่เข้าศึกษา โดยต้องมีผลการศึกษาในระดับคะแนนไม่ต่ำกว่า C และจะนับเฉพาะหน่วยกิตที่ได้ แต่ไม่นำมาคำนวณ ทั้งนี้ ระยะเวลาในการศึกษารวมแล้วต้องไม่เกินจำนวนปีที่กำหนดไว้ในหลักสูตร หรือเข้ารับการอบรมตามหลักสูตร และระดับการศึกษาของ มหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซาแบบนักศึกษาบุคคลภายนอก และผ่านกระบวนการคัดเลือกและสรรหาเข้าเป็นนักศึกษาใหม่ สามารถนำรายวิชา และหน่วยกิตที่ได้ศึกษามาแล้ว โอนมาเป็นรายวิชาและหน่วยกิตในหลักสูตร

ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาที่โอนย้าย

(1) กรณีที่เป็นนักศึกษาที่โอนย้ายจากหลักสูตรอื่น (สถาบันเดียวกัน) มีขั้นตอนการประเมิน 
ดังแสดงใน ภาพที่ 4.2 แสดง Flowchart ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาที่โอนย้าย (สถาบันเดียวกัน)

ภาพที่ 4.2 แสดง Flowchart ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาที่โอนย้าย (สถาบันเดียวกัน)

(2) กรณีที่เป็นนักศึกษาที่โอนย้ายจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น มีขั้นตอนการประเมิน ดังแสดงใน ภาพที่ 4.3 แสดง Flowchart ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาที่โอนย้าย (ต่างสถาบัน)

ภาพที่ 4.3 แสดง Flowchart ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาที่โอนย้าย (ต่างสถาบัน)

มาตรฐานนักศึกษาที่กำลังศึกษา 

ให้นักศึกษาพ้นสภาพนักศึกษาในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้

– นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่มีแต้มคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 1.50 เมื่อสิ้นภาคการศึกษาที่สอง

– นักศึกษาที่มีแต้มคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 1.75 ต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติ ยกเว้นปี การศึกษาแรกของนักศึกษาใหม่ (กรณีที่นักศึกษาได้เรียนครบตามหลักสูตรฯแล้ว แต่แต้มระดับคะแนนเฉลี่ย สะสมต่ำกว่า 2.00 จะได้รับอนุญาตให้เรียนวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนดต่อไปอีกไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาปกติติดต่อกัน เมื่อสิ้นสุดระยะเวลานี้แล้ว ถ้าแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 2.00 ให้นักศึกษาพ้นสภาพนักศึกษา ทั้งนี้ ไม่เกินระยะเวลา 2 เท่าของหลักสูตร)

– นักศึกษาที่อยู่ในสภาพรอพินิจต่อเนื่องกัน 4 ภาคการศึกษาปกติ

– และข้อกำหนดอื่นๆ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559

มาตรฐานและขั้นตอนการประเมินนักศึกษาก่อนจบ

มาตรฐานนักศึกษาก่อนจบ 

– นักศึกษาต้องศึกษาและลงทะเบียนครบตามโครงสร้างที่หลักสูตรฯกำหนดจำนวน 121 หน่วยกิต

– ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00 ตามระเบียบว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2559 ของมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา และต้องผ่านการฝึกงาน

– เป็นบุคคลประพฤติดี ไม่ฝ่าฝืนกฎระเบียบ

– ไม่มีภาระหนี้สินกับมหาวิทยาลัย

ขั้นตอนการประเมินสำหรับนักศึกษาก่อนจบ 

หลักสูตรฯมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลการศึกษา และตรวจสอบการสำเร็จการศึกษาของผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา ทั้งในสถาบัน และนอกสถาบัน ผ่านระบบ MIS

หลักฐาน

1. TQF 2

2. ระเบียบมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2559

3. Flowchart ขั้นตอนการรับนักศึกษาใหม่

4. Flowchart ขั้นตอนการกำหนดวิธีการระเมินผลการเรียนรู้

5. เอกสารชี้แจงคำอธิบายรายวิชา เค้าโครง เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดการและการนัดหมาย

4.4 The assessments methods are shown to include rubrics, marking schemes, timelines, and regulations, and these are shown to ensure validity, reliability, and fairness in assessment.

การดำเนินการ

หลักสูตรฯ ได้จัดทำ มคอ. 3 ทุกรายวิชาที่เปิดทำการเรียนการสอนตามแบบฟอร์มที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) กำหนด ซึ่งประธานหลักสูตรฯ ได้ตรวจสอบ มคอ.3 ในแต่ละภาคการศึกษาเพื่อให้มั่นใจว่า ผู้สอนได้ระบุมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของรายวิชาตรงตามที่หลักสูตรกำหนด รวมทั้งได้ระบุวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งอาจารย์ผู้สอนได้ระบุเกณฑ์การประเมินไว้อย่างชัดเจน และแจ้งให้นักศึกษาทราบล่วงหน้าก่อนเริ่มทำการเรียนการสอน และในระหว่างการศึกษา อาจารย์ผู้สอนของแต่ละรายวิชาได้ทำการประเมินอย่างต่อเนื่อง โดยผู้เรียนจะถูกวัดและประเมินผลให้มีความรู้ความสามารถที่สอดคล้องและบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในหลายระดับ ซึ่งหลักสูตรได้กำหนดวิธีการประเมินไว้หลากหลาย เพื่อให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาสามารถนำไปใช้ในการประเมินความเหมาะสมและให้สอดคล้องกับลักษณะการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้น ๆ โดยในปีการศึกษา 2566 สาขาวิชาฯ ได้ทำการเปิดการเรียนการสอนทั้งหมด 21 รายวิชา และได้กำหนดวิธีการประเมินของแต่ละรายวิชาไว้ในหลักสูตรทั้งหมด 5 ด้าน ได้แก่ 

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม

1.1 กลยุทธ์การประเมินผล

(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและไม่คัดลอกงานจากผู้อื่น

(2) ประเมินจากการมีวินัย และความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

(3) ประเมินจากพฤติกรรมในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร

2. ด้านความรู้

2.1 กลยุทธ์การประเมินผล

(1)  การทดสอบย่อย

(2)  การฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจำลอง (Simulator)

(3)  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน

(4)  ประเมินจากรายงาน โครงการหรือโครงงานที่นักศึกษาจัดทำและนำเสนอในชั้นเรียน 

(5)  ประเมินจากรายงานวิชาสหกิจศึกษา

3. ด้านทักษะทางปัญญา

3.1 กลยุทธ์การประเมินผล

(1) ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา

(2) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือการสัมภาษณ์ เป็นต้น

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.1 กลยุทธ์การประเมินผล

(1) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาจากผลสอบภาษาอังกฤษการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน

(2) สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ

(3) ความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ใช้ในการบริการการควบคุมจราจรทางอากาศ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 กลยุทธ์การประเมินผล

(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์ และสถิติที่เกี่ยวข้อง

(2) ประเมินจากผลสอบภาษาอังกฤษ และการสื่อสารในการฝึกปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลประกอบการนำเสนอ

(3) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียนโดยผู้สอนแต่ละรายวิชาต้องจัดทำ มคอ.3 ตามตัวอย่างแผนการประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตามตัวอย่างตารางที่ 4.1 แผนการประเมินการเรียนรู้ และตัวอย่างตารางที่ 4.2 การวัดผลตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Assessment of Learning Outcome) ดังนี้

Assessment ItemsAssessment taskScheduledWeekProportion ofcourse grading(%)
Class participationCA1: Learning participationEvery session3%
Assignments 8Click above Google Classroom links to view Assignment QuestionsCA 2: Assignments x 25th & 13th8%
Quizzes and Class TestCA3: Quiz x 2CA4: Class Test x 23rd & 11th 7th & 15th 5%
Presentation (Chosen Topics)The presentations assess all the major learning outcomes of the courseCA5: Presentation x 16th4%
Midterm test: [Link to Midterm questions and solutions-answers]Midterm Test9th20%
Final exam: [Link to Final exam questions and solutions-answers]Final examination16th60%

ตารางที่ 4.1 แผนการประเมินการเรียนรู้

Topic and summary
of taught concept
Plan hrs.Essential, analytical
or conceptual question
that the students have been able
to solve or answer
% for
grading
Topic: 1, Week(s): 1, Time: 3 hrs. Weight and Balance Control3 hrsa. Why is weight and balance crucial for the safe operation of an aircraft? b. What factors contribute to the weight of an aircraft, and how do they affect the center of gravity?M.E – 4 CA – 1
Topic: 2, Week(s): 2, Time: 3 hrs. Weight and Balance Theory3 hrsAccording to the weight and balance theory, how would you maintain the center of gravity (CG) of an aircraft?M.E – 2.6 CA – 1
Topic: 3, Week(s): 3, Time: 3 hrs. Weighing the Aircraft and Determining the Aircraft Center of Gravity6 hrsDetermine if the airplane’s weight and balance is within the limits. Description Weights (lbs) Front seat occupants 340 Rear seat occupants 295 Fuel (Main Wing Tanks) 44 gallons Baggage 56M.E – 6.2 CA – 3
Topic: 4, Week(s): 4, Time: 3 hrs. Single Engine Aircraft Weight and Balance Computations6 hrsThe data for a single engine piston aircraft is as follows: Basic Empty Mass – 2415 lbs Front seat Occupants – 340 lbs 3rd and 4th seat passengers- 340 lbs Baggage zone B – 200 lbs Fuel at engine start – 60 US Gallons Trip fuel (Calculated fuel burn) – 40 US Gallons Complete the Load sheet attached at the end of the Question Paper with all the necessary details. In addition to that calculate the Center of gravity during take-off and landing.M.E – 5 CA – 3
Topic: 5, Week(s): 5, Time: 3 hrs. Load Control – 777 – Descriptions and Limitations – General3 hrsa. Why is a Load Control Manual necessary for aircraft weight and balance operations? b. What key components should be included in the Load Control Manual?M.E – 2.2 CA – 2
Topic: 6, Week(s): 6, Time: 3 hrs. Load Control – 777 – Descriptions and Limitations – Cabin Due to time constraint, not able to teach before mid-term 
Topic: 7, Week(s): 7, Time: 3 hrs. Load Control – 777 – Descriptions and Limitations – Compartments Due to time constraint, not able to teach before mid-term 
Topic: 8, Week(s): 8, Time: 3 hrs.2 hrsMID-TERM EXAM20 CA – 10
Topic: 9, Week(s): 9, Time: 3 hrs. – Aircraft basic empty weight – Number and weight of flight and cabin crew as operating weight -Extra crew -Catering supply/galley/ Pantry -Flight number/weight group and extra meal -Fwd/mid/aft galley location and their balance condition -Maximum aircraft gross weight limitation -Max Zero fuel weight, Max takeoff and landing weight3 hours per week-Maximum aircraft gross weight limitation of each aircraft such B777, B747, A350, A330. -Max Zero fuel weight, Max Taxi fuel weight. -Max takeoff and landing weight.M.E – 2 CA – 1
Topic: 10, Week(s): 10, Time: 3 hrs. -Dry Operating Weight (DOW)-Ramp fuel, takeoff fuel and trip fuel -Allowed traffic load or pay loads. -Operating loads -Traffic loads -Overload or under load3 hours per week-Dry Operating Weight (DOW) -Ramp fuel, takeoff fuel and trip fuel -Allowed traffic load or pay loads. -Operating loads -Traffic loads -Overload or under loadM.E – 3 CA – 1
Topic: 11, Week(s): 11, Time: 3 hrs. -Destination airport code by IATA -Adult, child and infant Passengers -Adult male and female Passengers -Total weight of all type Passengers -Sick and invalid pax -lying sick on stretcher -Unaccompanied Minor -Seat occupied column (PAX and PAD) -Courier Passenger and Courier Baggage (COU) -First, business and Economy classes -Total seat occupied in each class (C and Y) -Total seat occupied in Y class and in each cabin (B, C, D, E) -Cabin Version: life vests, oxygen masks3 hours per week-Destination airport code by IATA -Adult, child and infant Passengers Weight -Adult male and female Passengers -Total weight of all typePassengers -Sick and invalid pax -lying sick on stretcher -Unaccompanied Minor -Seat occupied column (PAX and PAD) -Courier Passenger and Courier Baggage (COU) -First, business and Economy classes -Total seat occupied in each class (C and Y) -Total seat occupied in Y class and in each cabin (B, C, D, E) -Cabin Version: life vests, oxygen masksM.E – 7 CA – 2
Topic: 12, Week(s): 12, Time: 3 hrs. -Loading Instruction and Report, arrival/departure -Special cargo (AVI, ICE, HUM, HEA, BIG, PER, FIL -Dangerous Goods Cargo (RXS, RFG, RFS,RNG, RPG, ROX, ROP, RIS, RPB, RRW, RRY, RCM, MAG -Load Density Baggage: 150kg/m3 Cargo:180kg/m3 Mail: LC/AO 200kg/m3 CP 160kg/m3 COM 200kg/m3 -Unit Load Device (ULD) AKE, AVE, PAP, PMC, AAP, AAF base size, tare weights volume and weight capacity -Load Planning and Loading Instruction -Compartment version layout (CPT 1, 2, 3, 4) -Bulk Comp, CPT 5 max weight and volume -Basic Principle of load planning for one station -Remarks on the right-hand side of the loadsheet -Compartment total and Dead Load Total3 hours per week-Special cargo (AVI, ICE, HUM, HEA, BIG, PER, FIL -Dangerous Goods Cargo (RXS, RFG, RFS,RNG, RPG, ROX, ROP, RIS, RPB, RRW, RRY, RCM, MAG -Load Density Baggage: 150kg/m3 Cargo:180kg/m3 Mail: LC/AO 200kg/m3 CP 160kg/m3 COM 200kg/m3 -Unit Load Device (ULD) AKE, AVE, PAP, PMC, AAP, AAF base size, tare weights volume and weight capacityM.E – 3 CA – 2
Topic: 13, Week(s): 13, Time: 3 hrs. -Total Traffic Loads -Dry Operating Weight (DOW) -Actual Traffic Load not over allowed. -Actual Zero Fuel not over Max ZFW -Actual Take Off Weight not over max TOW -Estimate Landing not over Max Landing (LDW)3 hours per week-Dry Operating Weight (DOW) -Actual Traffic Load not over allowed. -Actual Zero Fuel not over Max ZFW -Actual Take Off Weight not over max TOW -Estimate Landing notover Max Landing (LDW)M.E – 2 CA – 2
Topic: 14, Week(s): 14, Time: 3 hrs. -Balance Table or trim Sheet -Balance Weight and Index -Center of gravity -Mean Aero dynamic Cord -How can an aircraft fly? -Slightly tail heavy -Last Minute changes -Total LMC3 hours per week-Balance Table or trim Sheet -Balance Weight and Index -Center of gravity -Mean Aero dynamic Cord -How can an aircraft fly?M.E – 1 CA – 1
Topic: 15, Week(s): 15, Time: 3 hrs. -Airline teletype communication (SITA) -Originator, sender and UTC -Load Message LDM -Destination Passengers, cab bag, Total dead load, load in compartment 1, 2 3, 4, and 5 -Seat occupied in f, c, y -Supplementary Information (SI)-Practice/exercise load sheet on TG620 BKK ? MNL ? KIX -Principal for loading 2 stations3 hours per week-Balance Table or trim Sheet -Balance Weight and Index -Center of gravity -Mean Aero dynamic Cord -How can an aircraft fly?M.E – 2 CA – 1
Topic: 16, Week(s): 16, Time: 3 hrs.3 hours per weekThe students were able to answer the questions which are asked from the above-mentioned topics 9-15.Exam – 60 Marks CA-10

ตารางที่ 4.2 การวัดผลตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Assessment of Learning Outcome)

ภายหลังจากการกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังดังตัวอย่างเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ผู้สอนต้องออกแบบข้อสอบร่างแรกให้แล้วเสร็จภายในเวลาตามที่ปฏิทินการศึกษากำหนด เพื่อทำการรีวิวข้อสอบภายใน โดยอาจารย์ในสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ คณบดีคณะบริหารธุรกิจ และอธิการบดี หลังจากนั้นข้อสอบจะถูกส่งต่อไปให้คณะกรรมการตรวจสอบการวัดผลและประเมินผลของผู้เรียน เพื่อทำการรีวิวต่อในลำดับถัดไป หากมีข้อท้วงติงหรือข้อเสนอแนะผู้สอนต้องทำการแก้ไขข้อสอบนั้นตามคำชี้แนะหรือหากประสงค์จะไม่แก้ไขต้องชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อสอบข้อนั้น ๆ กลับไปที่คณะกรรมการตรวจสอบการวัดผลและการประเมินผลของผู้เรียน เพื่อให้มั่นใจว่าหลักสูตรมีการประเมินผลที่มีคุณภาพมีขั้นตอน มีเครื่องมือที่ดี มีความน่าเชื่อถือ และสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ระดับคะแนน เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยฯ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

                 คะแนน 80-100 ผลการศึกษาได้เกรด A 

                 คะแนน 79-75 ผลการศึกษาได้เกรด B+

                 คะแนน 74-70 ผลการศึกษาได้เกรด B

                 คะแนน 69-65 ผลการศึกษาได้เกรด C+

                 คะแนน 64-60 ผลการศึกษาได้เกรด C

คะแนน 59-55 ผลการศึกษาได้เกรด D+

คะแนน 54-50 ผลการศึกษาได้เกรด D

คะแนน 49-0 ผลการศึกษาได้เกรด Fตัวอย่างผลการศึกษา (เกรด) ของนักศึกษาสาขจาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ รายวิชา 223 406 Aircraft Weight and Balance Control

กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ และความเป็นธรรมในการประเมิน)

หลักสูตรฯ มีการปฏิบัติการประเมินผลโดยมีกรอบระยะเวลาตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ เป็นตัวกำหนด โดยผลการประเมินของสาขาวิชาฯ จะถูกส่งต่อไปยังสำนักทะเบียนและวัดผลตามกำหนดของกรอบระยะเววลา เพื่อทำการทดสอบ การประเมินผล การกระจายค่าน้ำหนัก และการตัดเกรด ตามเกณฑ์การประเมินที่หลักสูตรกำหนด ให้ผลการประเมินมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นธรรมกับผู้เรียน 

การทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้ขณะนักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษา

1. ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลทุกรายวิชาเพื่อการทวนสอบ

2. จัดตั้งกรรมการเพื่อตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน

3. เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบในแต่ละรายวิชาตามเกณฑ์ที่กำหนดเพื่อให้ผู้สอนมี     มาตรฐานการให้คะแนน โดยเฉพาะรายวิชาที่มีผู้สอนมากกว่าหนึ่งคน

การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา

1. จัดตั้งคณะกรรมการในการทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้หลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา

2. ดำเนินการทวนสอบหลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา

3. สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตแต่ละรุ่นที่สำเร็จการศึกษาโดยการวิจัยหรือรายงานผลสัมฤทธิ์การมีงานทำของบัณฑิต และนำผลมาปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการการเรียนการสอน

4. ตรวจสอบจากสถานศึกษาและสถานประกอบการโดยการตอบแบบสอบถามหรือการสัมภาษณ์ เพื่อประเมินความพึงพอใจบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา และเข้าทำงานในสถานประกอบการนั้น ๆ 

หลักฐาน

1. ระบบ MIS TQF 3

2. ผลการทวนสอบปีการศึกษา 2566

3. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการทวนสอบผลัมฤทธิ์ทางการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566

4. ข้อมูลภาวะการมีงานทำของบัณฑิต5. ผลประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต

4.5 The assessment methods are shown to measure the achievement of the expected learning outcomes of the programme and its courses.

การดำเนินการ

สาขาวิชาฯ มีขั้นตอนในการระบุวิธีการการประเมินของผู้สอน โดยผู้สอนทุกคนต้องปฏิบัติตาม PLOs ที่ระบุไว้ในเล่มหลักสูตร TQF 2 จากนั้น ผู้สอนจึงจะออกแบบวิธีการการประเมินที่เหมาะสมตาม PLOs และวัตถุประสงค์ของหลักสูตรซึ่งโดยพื้นฐานแล้วสำหรับด้านเจตพิสัย (Active Domain) จะประเมินโดยใช้การสังเกตจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย การร่วมกิจกรรม การมีวินัย และความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น ในขณะที่ด้านพุทธิพิสัย (Connutive Domain)และด้านทักษะพิสัย (Phychomotor Domain) จะประเมินโดยใช้การมอบหมายงาน แบบทดสอบ ข้อสอบข้อเขียน เรียงความ กรณีศึกษาสถานการณ์จำลองการควบคุมจราจรทางอากาศ งานนำเสนอ หรือโครงงาน เป็นต้นหลักสูตรได้แสดง ตัวอย่างวิธีการการประเมินที่สอดคล้องกับ PLOs ดังแสดงใน ตารางที่ 5.1แสดงวิธีการวัดและการประเมินที่ใช้  PLOs แต่ละรายการของปีการศึกษา 2566 โดยเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาวิธีการการประเมินจะถูกประเมินโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายในและภายนอก เช่น ศิษย์ปัจจุบัน อาจารย์และคณะกรรมการตรวจประเมิน ตามลำดับ เพื่อให้วิธีการประเมินมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

ตารางที่ 4.3 วิธีการวัดและการประเมินที่ใช้ PLOs

หลักฐาน

1. ASSESSMENT OF THE LEARNING OUTCOMES

2.รายงานการวัดผลสำเร็จของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชา และผลสำเร็จของหลักสูตรรายชั้นปี

4.6 Feedback of student assessment is shown to be provided in a timely manner. 

การดำเนินการ

สาขาวิชา มอบหมายให้อาจารย์ที่ปรึกษา ทำการให้ข้อมูลป้อนกลับในการประเมินผลการเรียนรู้กับผู้เรียนหลังการประกาศผลการประเมินอย่างเป็นทางการ ภายใน 1 สัปดาห์ เพื่อให้ผู้เรียนวางแผนการเรียนซ้ำในบางรายวิชา (ถ้ามี) หรือวางแผนการเรียนเพิ่มในบางรายวิชา(ถ้ามี) หรือใช้วางแผนในการพัฒนาการเรียนรู้เป็นรายบุคคล ซึ่งจากรายงานของอาจารย์ที่ปรึกษารายชั้นปี พบว่า มีนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ที่กำลังจะขึ้นปีที่ 4 มีผลการเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานจำนวน 2 คน ทางสาขาวิชาฯ และอาจารย์ที่ปรึกษาจึงได้ดำเนินการ โดยเรียกนักศึกษาทั้ง 2 คน เข้ามาพูดคุยเกี่ยวกับรายวิชานั้น ๆ และประสานกับทางสำนักทะเบียนของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อดำเนินการขอเปิดการเรียนการสอนในช่วงปีการศึกษาที่ 3/2566 (Summer) เพื่อให้นักศึกษาได้ลงแก้ไขในรายวิชาที่มีผลการเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และเพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนในภาคการศึกษาถัด ๆ ไป เนื่องจาก หากนักศึกษาไม่ลงแก้ในเทอมนี้ (3/2566) และเทอมหน้า (1/2567)  นักศึกษาจะไม่สามารถออกฝึกปฏิบัติวิชาชีพและจบการศึกษาได้ตามกรอบระยะของหลักสูตรที่กำหนด ดังนั้น เพื่อให้การเรียนการสอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทางสาขาวิชฯ และนักศึกษาจึงได้ยื่นขอเปิดรายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ผ่าน โดยมีรายละเอียดรายวิชาที่สามารถลงเรียนได้ดังนี้

และเนื่องจากนักศึกษาคนดังกล่าวมีผลการเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินหลายรายวิชา และส่งผลให้ไม่สามารถลงเรียนในภาคการศึกษาที่ 3/2566 ได้ครบทุกตัว ดังนั้น อาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา และสำนักทะเบียน ของมหาวิทยาลัยฯ จึงได้ปรึกษาหารือและหาทางออกร่วมกัน เพื่อให้นักศึกษาคนดังกล่าวสามารถออกไปฝึกปฏิบัติวิชาชีพ และจบการศึกษาได้ตามกรอบระยะเวลาของหลักสูตร 4 ปี โดยได้มีการจัดเตรียมตารางเรียนตารางสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2567 ให้เอื้อระยะเวลาต่อนักศึกษาคนดังกล่าว ให้สามารถลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่ไม่ผ่านได้ เพื่อรักษาผลประโยชน์สูงสุดให้แก่นักศึกษาเป็นสำคัญ ดังตารางเรียนต่อไปนี้

ตารางเรียนนักศึกษาสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศประจำปีการศึกษา 1/2567

หลักฐาน

1. รายงานการให้คำปรึกษาประจำชั้น

2. ผลการลงทะเบียนเรียนใหม่ในรายวิชาที่ไม่ผ่านการประเมิน

3. ตารางเรียนนักศึกษาสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศประจำปีการศึกษา 1/2567

4.7 The student assessment and its processes are shown to be continuously reviewed and improved to ensure their relevance to the needs of industry and alignment to the expected learning outcomes.

การดำเนินการ

หลักสูตรฯ ได้มีการประเมินนักศึกษาทุกชั้นปี เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนของแต่ละรายวิชา โดยการทดสอบผ่านการสอบของแต่ละรายวิชา และประเมินผลการทดสอบอย่างเที่ยงตรง และและเป็นธรรมสำหรับนักศึกษาทุกคน โดยทุกภาคการศึกษา อาจารย์ผู้สอนจะต้องมีการทบทวนข้อสอนพร้อมทั้งออกข้อสอบใหม่ให้เป็นปัจจุบัน เพื่อสอดแทรกเนื้อหาใหม่ ๆ เข้าไปในข้อสอบ เพื่อให้นักศึกษา เกิดการคิด วิเคราะห์ มีความรู้ ความสามารถ และก้าวตามอุตสาหกรรมการบินทั้งภายในและภายนอกประเทศได้ทันเวลา เนื่องจากอุตสาหกรรมการบินทั้งในประเทศ ต่างประเทศ และทั่วโลกมีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล และข่าวสารอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น นักศึกษาควรที่จะได้รับความรู้ใหม่ ๆ ตลอดเวลาเช่นกัน  โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ จะมีการประเมินนักศึกษาในภาพรวมต่อจากอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้มั่นใจเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอน และข้อสอบที่ใช้ทดสอบนั้นมีความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของแต่ละชั้นปี ดังแสดงในตารางที่ 4.4 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสิ้นปีการศึกษา 2566

นักศึกษาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสิ้นปีการศึกษาผลลัพธ์ 2566
ชั้นปีที่ 1(1) มีความรับผิดชอบและบุคลิกภาพที่ดีสามารถแสดงออกในการติดต่อสื่อสารได้ถูกต้องและเหมาะสมในสังคม(2) มีความรู้พื้นฐานภาษาอังกฤษด้านการพูด การฟัง การเขียน เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนในชั้นเรียนที่สูงขึ้นต่อไปการเรียนในหลักสูตร และศัพท์เทคนิคทางด้านการบิน (3) สามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปใช้ในการเรียนรู้การใช้อุปกรณ์ และระบบ อิเล็กทรอนิกส์ในห้องฝึกปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ(4) มีความรู้พื้นฐานทั่วไปด้านกฎการจราจรทางอากาศ เพื่อนำไปใช้ และปฏิบัติในการให้การบริการควบคุมจราจรทางอากาศ รวมถึงระบบการจัดการท่าอากาศยานซึ่งมีความสัมพันธ์กับการให้บริการควบคุมจราจรทางอากาศบริเวณสนามบินบรรลุ
ชั้นปีที่ 2(1) สามารถอ่าน เข้าใจและตีความภาษาอังกฤษที่มีความยาวและซับซ้อนมากขึ้น เขียนรายงาน และ นำเสนอได้ถูกต้องตามระบบ (2) มีความรู้พื้นฐานด้านการให้บริการข่าวสารการบิน และอุตุนิยมวิทยาทางด้านการบิน เพื่อให้บริการอากาศยาน ใช้ในการเดินอากาศได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (3) มีความรู้เรื่องพื้นฐานและทฤษฎีเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการบริการการควบคุมจราจรทางอากาศ แก่อากาศยานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (4) สามารถให้การปฏิบัติในการควบคุมจราจรทางอากาศแก่อากาศยานในการขึ้น-ลง บริเวณ สนามบินและอากาศยานเข้า-ออกสนามบินไม่ใช้เรดาร์ในห้องฝึกปฏิบัติการจำลองควบคุมได้ อย่างถูกต้องและตามเกณฑ์มาตรฐานที่ ICAO กำหนดบรรลุ
ชั้นปีที่ 3(1) มีความรู้เรื่องกฎหมายด้านการบิน ว่าด้วยบุคลากรที่จะด าเนินการด้านการบิน อาทิ นักบิน เจ้าหน้าที่การควบคุมจราจรทางอากาศ และเจ้าหน้าที่บำรุงรักษาอากาศยาน และกฎหมายการบินว่าด้วยการกระทำความผิดด้านอาญาทางด้านการบิน อาทิ การจี้อากาศยาน การวางระเบิด อากาศยาน การก่อวินาศกรรมอากาศยาน(2) มีความรู้และเข้าใจในพื้นฐานด้านมนุษยปัจจัย ที่มีผลต่อบุคคลที่จะเข้าสู่สายงานด้านการให้บริการควบคุมจราจรทางอากาศ ซึ่งอาจจะเกิดความผิดพลาด และเป็นอันตรายต่อการเดินอากาศ ตามข้อก าหนดของ ICAO ที่ระบุไว้ใน ANNEX1(3) มีความรู้เรื่องเกี่ยวกับนิรภัยการบิน และการบริการหลุมจอดสายการบิน เพื่อความปลอดภัยขณะให้บริการในลานจอดและพื้นที่ขับเคลื่อนบริเวณสนามบิน ตามข้อกำหนดของสนามบินได้อย่างถูกต้องและได้มาตรฐานตามที่ ICAO กำหนด(4) มีความรู้พื้นฐานทฤษฎี และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมจราจรทางอากาศเข้า-ออก สนามบินด้วยเรดาร์และไม่ใช้เรดาร์ โดยฝึกปฏิบัติการจำลองบรรลุ
ชั้นปีที่ 4(1) สามารถปฏิบัติงานการให้บริการการควบคุมจราจรทางอากาศแก่อากาศยานเข้า-ออกสนามบินด้วยเรดาร์และไม่ใช้เรดาร์ รวมถึงการควบคุมจราจรทางอากาศตามเส้นทางบินไม่ใช้เรดาร์ ได้อย่างถูกต้องและได้มาตรฐานตามที่ ICAO กำหนด(2) มีทักษะประสบการณ์กับงานอาชีพด้านการบินจริงจากการฝึกปฏิบัติสหกิจศึกษานอกหน่วย ณ สถานประกอบการจริงโดยสามารถนำเสนอและรายงานการฝึกปฏิบัติทั้งด้วยวาจาและเอกสารเป็นรูปเล่มตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดได้อย่างถูกต้อง(3) มีทักษะด้านวิชาชีพจากการฝึกประสบการณ์ เพื่อเป็นแนวทางในการสมัครสอบแข่งขันเข้าสู่อาชีพงานด้านการบินต่อไปบรรลุ

โดยแต่ละรายวิชา เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะมีการทบทวนกระบวนการจัดการประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา โดยรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะผ่านทางช่องทางต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. การประเมินจากนักศึกษาผ่านแบบสอบถามของแต่ละรายวิชาที่ระบุไว้ในระบบ MIS TQF 5 
2.  การประเมินจากคณาจารย์ในหลักสูตรฯ ผ่านการนิเทศน์การสอน
3. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากกรมการที่ทำการรีวิวข้อสอบ และทวนสอบ 
4. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บัณฑิตหรือพี่เลี้ยงระหว่างการนิเทศน์สหกิจศึกษา
เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ และเพื่อการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรในรอบถัดไป โดยผลจากการนิเทศน์ศึกษา พบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ สามารถนำความรู้ ความสามารถที่ได้เรียนเรียนมาไปใช้ระหว่างการฝึกปฏิบัติงานได้เปป็นอย่างดี ภาพรวมสามารถสรุป ข้อเสนอแนะได้ ดังนี้ 1. การฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาโดยรวม สามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานที่กำหนดและได้รับคำชมเชยจากสถานประกอบการ โดยจากการฝึกงานของนักศึกษาในครั้งนี้ ผู้บริหารสายการบินส่วนหนึ่ง ได้ให้นโยบายกับผู้ปฏิบัติว่า ในกรณีที่ทางบริษัทฯ จะดำเนินการรับบุคลากรเข้าทำงาน ขอให้พิจารณาผู้ที่ผ่านการฝึกงานของบริษัทฯ ในตำแหน่งนั้น ๆ เป็นอันดับแรก เพราะเชื่อมั่นว่าผู้ที่ผ่านการฝึกงานกับบริษัทฯ มาแล้ว สามารถเข้าใจในหน้าที่และลักษณะงานได้ดีกว่า อีกทั้งยังมีความตั้งใจที่จะเข้ามาร่วมทำงานกับทางบริษัทฯ ตั้งแต่เริ่มต้น 2. การปฏิบัติตัวขณะปฏิบัติหน้าที่ในสถานประกอบการ ก็ได้รับคำชมเชย ว่าอยู่ในระเบียบวินัยเป็นอย่างดี นักศึกษามีความตั้งใจและใส่ใจงานในหน้าที่ รวมถึงความมีน้ำใจต่อเพื่อนร่วมงานและรับฟังคำแนะนำของผู้ควบคุมเพื่อนำไปปฏิบัติได้เป็นอย่างดี 3. การฝึกปฏิบัติงานด้านการควบคุมจราจรทางอากาศ นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานที่สถานประกอบการกำหนด อาทิ มาตรฐานด้านความปลอดภัย มาตรฐานด้านนิรภัยการบินมาตรฐานด้านการควบคุมจราจรทางอากาศ และได้รับคำชมเชยจากสถานประกอบการเป็นอย่างดี
 
จากข้อมูลที่กล่าวมาในเบื้องต้น จึงสามารถสรุปได้ว่า นักศึกษาแต่ละชั้นปีบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรฯ และเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานด้านการบินเมื่อจบการศึกษา
หลักฐาน
1. ระบบ MIS TQF 5
2. ตัวอย่างการรีวิวข้อสอบ ปีการศึกษา 2566
3. ตัวอย่างการทวนสอบ ปีการศึกษา 2566
4. แบบสอบถามและข้อเสนแนะระหว่างการนิเทศน์ศึกษา ปีการศึกษา 2566
5. รายงานผลการนิเทศน์ศึกษา ปีการศึกษา 2566
5. ผลการทวนสอบ ปีการศึกษา 2566
6. ข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บัณฑิต

Evidence

ID_EvidenceName_Evidence
4.1-1รายงานการประชุมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังประจำปี 2566
4.1-2ระบบ MIS TQF 3 ของแต่ละรายวิชาประจำปีการศึกษา 2566
4.1-3ระบบ MIS TQF 5 ของแต่ละรายวิชาประจำปีการศึกษา 2566
4.1-4Test Blue Print ของแต่ละรายวิชาประจำปีการศึกษา 2566
4.1-5ผลคะแนนการศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศประจำปีการศึกษา 2566
4.2-1ผลการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566
4.2-2ตัวอย่างผลการศึกษาในระบบ MIS
4.3-1TQF 2
4.3-2ระเบียบมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2565
4.3-3Flowchart ขั้นตอนการรับนักศึกษาใหม่
4.3-4Flowchart ขั้นตอนการประเมินนักศึกษาที่โอนย้าย
4.3-5เอกสารชี้แจงคำอธิบายรายวิชา เค้าโครง เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดการและการนัดหมาย
4.4-1ระบบ MIS TQF 3
4.4-2ผลการทวนสอบปีการศึกษา 2566
4.4-3คณะกรรมการการทวนสอบผลัมฤทธิ์ทางการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566
4.4-4ข้อมูลภาวะการมีงานทำของบัณฑิต
4.4-5ผลประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต
4.5-1ตัวอย่าง ASSESSMENT OF THE LEARNING OUTCOMES
4.5-2ตัวอย่าง รายงานการวัดผลสำเร็จของผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา และผลสำเร็จของหลักสูตรรายชั้นปี
4.6-1รายงานการให้คำปรึกษาประจำชั้น
4.6-2ผลการลงทะเบียนเรียนใหม่ในรายวิชาที่ไม่ผ่านการประเมิน
4.6-3ตารางเรียนนักศึกษาสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศประจำปีการศึกษา 1/2567
4.7-1ระบบ MIS TQF 5
4.7-2ตัวอย่างการรีวิวข้อสอบ ปีการศึกษา 2566
4.7-3ผลการทวนสอบ ปีการศึกษา 2566
4.7-4แบบสอบถามและข้อเสนแนะระหว่างการนิเทศน์ศึกษา ปีการศึกษา 2566
4.7-5รายงานผลการนิเทศน์ศึกษา ปีการศึกษา 2566
4.7-6ข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บัณฑิต

Self-Assessment

RequirementsResultScore
4.1 A variety of assessment methods are shown to be used and are shown to be constructively aligned to achieving the expected learning outcomes and the teaching and learning objectives./1
4.2 The assessment and assessment-appeal policies are shown to be explicit, communicated to students, and applied consistently./1
4.3 The assessment standards and procedures for student progression and degree completion, are shown to be explicit, communicated to students, and applied consistently./1
4.7 The student assessment and its processes are shown to be continuously reviewed and improved to ensure their relevance to the needs of industry and alignment to the expected learning outcomes. 
4.4 The assessments methods are shown to include rubrics, marking schemes, timelines, and regulations, and these are shown to ensure validity, reliability, and fairness in assessment./1
4.5 The assessment methods are shown to measure the achievement of the expected learning outcomes of the programme and its courses./
4.6 Feedback of student assessment is shown to be provided in a timely manner./1
Overall5

Leave a Reply