Criterion 5 – Academic Staff

Criterion 5 – Academic Staff

AUNQA requirements for Criterion 5

TRSU QA uses each of the AUNQA criterion requirements below to assess the relevant QA practice of a program.

5.1 Planning for the needs

The academic staff planning (including succession, promotion, redeployment, termination, and retirement plans) is carried out to ensure that the quality and quantity of the academic staff fulfill the needs for education, research, and service.

Diagnostic questions
  • How is manpower planning for the academic staff carried out?
  • Are recruitment and promotion criteria of the academic staff established? What are they?
  • What is the succession plan for key appointment holders?
  • What are the challenges that the university meet or encounter with regards to human resource, such as age distribution, difficulties in filling vacancies or in attracting qualified academic staff? How does the university handle these challenges?
  • What policy is pursued with regard to the employment of academic staff, both in teaching and research?
5.2 Workload monitor

The staff workload is measured and monitored to improve the quality of education, research, and service.

Diagnostic questions
  • Is the staff-to-student ratio satisfactory?
  • How are workload defined, measured and monitored?
  • Are academic staff members satisfied with the teaching load?
  • Is a policy in place with regard to involvement in seminars, supervision of final papers, practical training, or internship?
5.3 Competence evaluation

The competences of the academic staff are determined, evaluated, and communicated.

Diagnostic questions
  • Are academic staff members competent and qualified for their jobs? How are they evaluated?
  • Are the competencies and expertise of the academic staff adequate for delivering the programme? How are they evaluated?
  • How many Master’s and PhD degree holders are there among the academic staff?
  • What types of research activities are carried out by academic staff?
  • What are the competences needed for the research? How are they evaluated?
5.4 Right job for a person

The duties allocated to the academic staff are appropriate to qualifications, experience, and aptitude.

Diagnostic questions
  • Are the academic duties allocated appropriate to qualifications, experience and aptitude?
  • What types of research activities are carried out by academic staff? Are these activities aligned to the vision and mission of the university and faculty?
  • Is conscious effort made to involve professors in mentoring and/or training the junior or new academic staff?
5.5 Merit system

The academic staff is based on a merit system which accounts for teaching, research, and service.

Diagnostic questions
  • How is the merit system implemented?
  • What are the promotion criteria for the academic staff? Are they based on the merit system?
5.6 Roles and accountability

The rights and privileges, benefits, roles and relationships, and accountability of the academic staff, taking into account professional ethics and their academic freedom, are well defined and understood.

Diagnostic questions
  • What is the accountability of the academic staff in terms of roles, responsibilities, academic freedom, and professional ethics?
  • How is it demonstrated by the academic staff?
5.7 Training and development

The training and developmental needs of the academic staff are systematically identified, and appropriate training and development activities are implemented to fulfill the identified needs.

Diagnostic questions
  • What are the training and development processes and plans? How are the training needs identified?
  • Is there a system to develop strategic and technical competencies of the academic staff?
  • What are the training hours and number of training places for the academic staff per year?
  • Do the training and development plans reflect the university and faculty mission and objectives?
5.8 Performance and rewards

The performance management including reward and recognition is implemented to assess academic staff teaching and research quality.

Diagnostic questions
  • Is there a performance management system? How is it carried out?
  • How are the teaching and research quality of the academic staff assessed?
  • How is the reward and recognition implemented? What are performance criteria for the reward?
Scoring for TRSU QA
TRSU-QA score12345
Items showing
QA practice
1 items2-3 items4-5 items6-7 items8 items
AUNQA scoring rubrics

A seven-point rating scale used for AUNQA assessment is described below.

1. Absolutely inadequate

The QA practice to fulfil the criterion is not implemented
There are no plans, documents, evidences or results available. 
Immediate improvement must be made.

2. Inadequate and improvement is necessary

The QA practice to fulfil the criterion is still at its planning stage or is inadequate where improvement is necessary. 
There is little document or evidence available. 
Performance of the QA practice shows little or poor results.

3. Inadequate but minor improvement will make it adequate

The QA practice to fulfil the criterion is defined and implemented but minor improvement is needed to fully meet them. Documents are available but no clear evidence to support that they have been fully used. Performance of the QA practice shows inconsistent or some results.

4. Adequate as expected

The QA practice to fulfil the criterion is adequate and evidences support that it has been fully implementedPerformance of the QA practice shows consistent results as expected.

5. Better than adequate

The QA practice to fulfil the criterion is better than adequate. Evidence supports that it (the QA practice) has been efficiently implemented. Performance of the QA practice shows good results and positive improvement trend.

6. Example of best practice

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be example of best practices in the field. Evidences support that it has been effectively implemented
Performance of QA practice shows very good results and positive improvement trend.

7. Excellent (example of world-class or leading practice)

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be excellent or is an example of world-class practices in the field. Evidences support that it has been innovatively implemented. 
Performance of the QA practice shows excellent results and outstanding improvement trends.

Guide to writing a self-assessment report (SAR)
  • The report is the account of the self-assessment. It is not only descriptive but also analytical. It identifies and evaluates the problems and also provides an indication of how the problems identified will be dealt with. (Use the diagnostic questions provided in each of the AUN-QA criteria to do this.)
  • Illustrate clearly what, where, when, who, and how the QA mechanisms or instruments are implemented and managed to fulfil the criteria. This will help to piece all related information together.
  • Focus on information and data (objective evidences) that directly address the criteria. The report has to be concise and factual. Provide trends and statistics to show achievement and performance.
What is the QA practice to fulfil the criterion?

Quality assurance practice should mean QA plan that evaluates and/or modifies organization’s procedures to ensure that they provide the desired results. The QA plan documents the planning, implementation and assessment procedures for a project, process or any QA activity.
The QA plan should provide information about some or all of the following.

  • An overview of the project or process describing background, need, scope, activities, and deadlines;
  • Quality objectives to be attained (for example, characteristics, effectiveness, cycle time, cost, etc.);
  • Steps in the process that constitute the operating practice or procedures of the organization;
  • Allocation of responsibilities, authority, and resources for different phases of the project/process;
  • Specific document describing standards, practices, procedures, and instructions to be applied;
  • Suitable testing, inspection, examination, and audit programs at appropriate stages;
  • A documented procedure for changes and modifications to a quality plan as a process is improved;
  • A method for measuring the achievement of the quality objectives;

    (Source: https://asq.org/quality-resources/quality-plans)

Operational Result

5.1 The programme to show that academic staff planning (including succession, promotion, re-deployment, termination, and retirement plans) is carried out to ensure that the quality and quantity of the academic staff fulfill the needs for education, research, and service.

โปรแกรมที่แสดงให้เห็นว่ามีการวางแผนบุคลากรด้านวิชาการ (รวมถึงการสืบทอดตำแหน่ง การเลื่อนตำแหน่ง การปรับใช้ใหม่ การเลิกจ้าง และแผนการเกษียณอายุ) ดำเนินการเพื่อให้แน่ใจว่าคุณภาพและปริมาณของบุคลากรด้านวิชาการตอบสนองความต้องการด้านการศึกษา การวิจัย และการบริการ

วางแผนด้านบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม

การดำเนินการ

การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม เป็นสิ่งสำคัญต่อการพัฒนาระบบการศึกษาของหลักสูตรฯ และของประเทศ จำเป็นต้องมีแผนงานที่ชัดเจน กลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพ และความร่วมมือจากทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยหลักสูตรฯ ได้มีการกำหนดคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตรไว้อย่างชัดเจนว่าจะต้องจบการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป และสาขาที่จบมานั้นจะต้องมีความเกี่ยวเนื่องหรือสัมพันธ์กับหลักสูตร ซึ่งอาจารย์ประจำหลักสูตรฯ ทุกท่านมีคุณสมบัติตรงตามที่หลักสูตรฯ ต้องการ จึงทำให้มั่นใจได้ว่าอาจารย์ประจำหลักสูตรแต่ละท่าน มีความรู้ ความสามารถ และพร้อมจะพัฒนานักศึกษาให้มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการบินได้อย่างมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ 

โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรฯ แต่ละท่านมีประวัติการศึกษา ดังนี้

ปัจจุบัน

คุณวุฒิการศึกษา / ปีที่จบการศึกษา

1  น.ท.สุรัฐ  ศรีเดช

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,  2549

ปริญญาตรี: ศศ.บ. (รัฐศาสตร์/บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  2533

2 นางนพอนันต์ เพียรมั่นคง

(สมอ.08, ลงวันที่ 8 มี.ค. 62)

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,  2554

ปริญญาตรี: บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, 2549

3  นายเคน  ตัณฑสุวรรณ

(สมอ.08, ลงวันที่ 7 มิ.ย. 62)

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 2554

ปริญญาตรี: บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548

4  นายชวัลณัฐ  หงส์วาณิชวงศ์

(สมอ.08, ลงวันที่ 7 มิ.ย. 62)

ปริญญาโท: กจ.ม (การจัดการการบิน) สถาบันการบินพลเรือน, 2560

ปริญญาตรี: กจ.บ (การจัดการข้อมูล) มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555

5  นายอมรเทพ  อินทศร

(สมอ.08, ลงวันที่ 04 มี.ค. 65)

ปริญญาโท: กจ.ม (การจัดการการบิน) สถาบันการบินพลเรือน, 2564

ปริญญาตรี: วท.บ. (การควบคุมจราจรทางอากาศ) วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา,  2561

ด้านการพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์ หลักสูตรได้มีการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

เพื่อส่งเสริมอาจารย์ให้เพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ ส่งเสริมกลยุทธ์และวิธีการสอนเชิงบูรณาการด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัย เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมฝึกอบรม ศึกษาดูงาน/เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางด้านงานวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับหน่วยงานภายนอก โดยในปีการศึกษาที่ผ่านมา สาขาวิชาฯ ได้จัดส่งอาจารย์ประจำสูตรไปเข้ารับการฝึกอบรม ร่วมกับ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด ภายใต้โครงการพัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ (โครงการฝึกอบรมการปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศเขตสนามบิน) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมอาจารย์ให้เพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ และทักษะในการปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ พร้อมทั้งบูรณาการความรู้ที่ได้ เพื่อนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน และเพื่อส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมฝึกอบรม ร่วมมือแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ใหม่ ๆ ด้านการควบคุมจราจรทางอากาศและการบิน และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างสถาบันและสถานประกอบการ พร้อมกันนี้ยังได้ส่งอาจารย์
อมรเทพ อินทศร เข้าร่วมการสัมมนาวิชาการ เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับ QUVAE ภายใต้หัวข้อ ” Webinar On Triumphs: Life Hacks For Success In The Classroom And Beyond” และ “Webinar On เทคนิคการเขียนงานวิจัยเชิงคุณภาพให้ได้ตีพิมพ์ ” การฝึกอบรม Learning exchange invitation for SAR writers ภายใต้หัวข้อ STIC Education Quality Standard Criteria 2022 (Curriculum Level Reviseed 2023) ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 และเข้าร่วมรับฟังการสัมมนา Academic Title Workshop of Academic Year 2023 ภายใต้หัวข้อ How to Apply for an Academic Position: Assisstant Professor ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 7 ธันวาคม 2566 ที่ผ่านมาอีกด้วย

เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Management) ระหว่างคณาจารย์ด้วยกันเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย โดยทางสาขาวิชาฯ ร่วมกับทางมหาวิทลัยฯ ได้เข้าร่วมโครงการนี้ด้วยภายใต้ หัวข้อ “Learning Management Toward Excellence II” ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 17 มกราคม 2567 ที่ผ่านมา

การพัฒนาทางด้านวิชาการและด้านอื่น ๆ

สาขาวิชาฯ ได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่สังคมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้ด้านวิชาชีพและคุณธรรม เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคม อันจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเครือข่ายกับชุมชน/สังคม และนำองค์ความรู้ที่ได้รับมาต่อยอดบูรณาการสู่การเรียนการสอนและการวิจัย โดยในปีการศึกษาที่ผ่านมา คณะอาจารย์ประจำหลักสูตรฯ และตัวแทนนักศึกษาได้เข้าร่วม โครงการบริการทางวิชาการ การอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือเหล่าอากาศ ณ โรงเรียนราชวินิตบางแก้วในพระบรมราชูปถัมภ์  ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 28-29  กันยายน 2566 ที่ผ่านมา โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังให้อาจารย์และนักศึกษา สามารถนำความรู้ ความสามารถที่ได้เรียนมาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ร่วมถึงฝึกให้นักศึกษาฯ กล้าที่จะแสดงออกและมีภาวการณ์เป็นผู้นำในการดำเนินกิจกรรม 2. เพื่อฝึกให้อาจารย์และนักศึกษาสามารถเข้าใจแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นหรือองค์กรอื่นได้ พร้อมทั้งสามารถวางแผนงานได้อย่างละเอียดรอบคอบ ทั้งก่อนการดำเนินกิจกรรม ระหว่างดำเนินกิจกรรม และสรุปผลหลังจากดำเนินกิจกรรมได้อย่างเป็นระบบ และ3. เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ชื่อของมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา และหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control Program) ให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณะและผู้ที่สนใจ

พร้อมกันนี้สาขาวิชาฯ ยังได้ส่งเสริม สนับสนุนและจูงใจให้คณาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการด้านการควบคุมจราจรทางอากาศที่มีคุณภาพสามารถนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และต่อยอดผลงานดังกล่าวสู่ผลงานวิชาการเพื่อขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้นไป ซึ่งในปีการศึกษา 2566 นั้น สาขาวิชาฯ ได้มีการเผยแพร่งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบินและการควบคุมจราจรทางอากาศ ทั้งหมด 2 เรื่อง โดยอาจารย์ เคน ตัณฑสุวรรณ และ อาจารย์ อมรเทพ อินทศร ผ่านใต้ข้อการวิจัย ดังนี้

  1. การจัดการพื้นที่สาธารณะการให้บริการของท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง-พัทยา) หรือ Management of Public Area Services at U-Tapao International Airport (Rayong-Pattaya)
  2. ปัจจัยสู่ความสำเร็จด้านอาชีพของเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ กรณีศึกษา โรงเรียนการบินเอกชนแห่งหนึ่ง หรือ THE FACTORS OF SUCCESS IN AIR TRAFFIC CONTROL CAREER A CASE STUDY OF A PRIVATE SCHOOL

และส่งเสริมสนับสนุนและจูงใจให้อาจารย์พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาต่อในระดับคุณวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพให้มีความเชี่ยวชาญด้านวิชาการ โดยทางสาขาวิชาฯ ร่วมกับทางมหาวิทยาลัยฯ ได้มีการมอบทุนการศึกษาตลอดหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาการบริหารการศึกษา หรือ Ph.D.(Educational Administration) ให้แก่อาจารย์ อมรเทพ อินทศร สำหรับการศึกษาในครั้งนี้ โดยเริ่มทำการเรียนการสอนตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2/2566 ที่มา

พร้อมกันนี้ทางสาขาวิชาฯยังได้มีการมอบหมายงานให้กับอาจารย์ทุกท่านเพื่อควบคุมปริมาณงานให้เหมาะสมและตรงกับบริบทของอาจารย์แต่ละท่าน โดยได้มอบหมายงานให้อาจารย์แต่ละท่านรับผิดชอบงาน ดังนี้

 

รายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ

 

งานที่ได้รับมอบหมาย

1. น.ท. สุรัฐ  ศรีเดช

1. หัวหน้าและประธานสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. หัวหน้าโครงการสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

3. ผู้ควบคุมดูแลปริมาณงานของอาจารย์ภายในหลักสูตร

4. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

5. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1

2. อาจารย์ นพอนันต์  เพียรมั่นคง

1. รองหัวหน้าและรองประธานสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

3. เขียนรายงานการดำเนินการประจำปี

4. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1

3. อาจารย์ ชวัลณัฐ หงษ์วาณิชวงศ์

1. ติดตามภาวการณ์มีงานทำของบัณฑิต

2. การประเมินผลภายในหลักสูตร

3. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

4. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 2

4. อาจารย์ เคน ตัณฑะสุวรรณ

1. จัดทำและเผยแพร่งานวิจัยประจำปีการศึกษา 2566

2. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

3. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 3

5. อาจารย์ อมรเทพ อินทศร

1. จัดทำและเผยแพร่งานวิจัยประจำปีการศึกษา 2566

2. ติดตามเรื่องการฝึกงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 4

3. ติดตามการนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4

4. รายงานผลการนิเทศศึกษา

5. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

6. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 4

หลักฐาน

  1. โครงการ พัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ
  2. โครงการบริการทางวิชาการ
  3. การฝึกอบรมและการสัมมนา
  4. แผนพัฒนาอาจารย์
  5. ทุนการศึกษา ป.เอก
  6. ผลงานการวิจัย

5.2 The programme to show that staff workload is measured and monitored to improve the quality of education, research, and service.

การดำเนินการ

การบริหารอาจารย์

 คณบดีแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน ดังนี้

  1. ด้านการสอน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนจะต้องประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน โดยจัดภาระงานสอนแต่ภาคการศึกษาแก่อาจารย์แต่ละคนตามคุณวุฒิประสบการณ์ ซึ่งภาระงานสอนไม่เกินภาระงานปกติที่มหาวิทยาลัยกำหนด และให้อาจารย์ทุกคนต้องทำ มคอ.3/4 ให้เสร็จก่อนเปิดภาคการศึกษา และเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา อาจารย์ทุกคนต้องจัดทำ มคอ.5/6 ภายในระยะเวลาที่กำหนด
  2. ด้านการให้คำปรึกษา การมอบหมายภาระงานให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาตามตารางที่มหาวิทยาลัยกำหนด
  3. ด้านงานวิชาการ โดยกำหนดให้อาจารย์ต้องทำแผนพัฒนาตนเองในแต่ละปี และต้องผลิตผลงานทางวิชาการ เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ หรือศึกษาต่อเพื่อให้คุณวุฒิที่สูงขึ้น
  4. ด้านงานบริการวิชาการและกิจกรรมอื่น ๆ โดยอาจารย์ในหลักสูตรจะได้รับมอบหมายและแต่งตั้งจากคณะวิชาและหลักสูตรในการเป็นคณะกรรมการกลุ่มต่าง ๆ อาทิ กรรมการบริหารจัดการควาเสี่ยง กรรมการบริหารจัดการความรู้ กรรมการบริการวิชาการ กรรมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กรรมการประกันคุณภาพ เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้มีการกระจายงานแก่อาจารย์ทุกคนอย่างชัดเจนและเกิดการเข้าร่วมกิจกรรมกับมหาวิทยาลัยผ่านโครงการในรูปแบบต่าง ๆ

หลักสูตรฯ ได้มีการทบทวนการดำเนินงานของอาจารย์และบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย ที่กำหนดและได้มีการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการดำเนินงานในบางขั้นตอนลง เพื่อลดความยุ่งยากและความซ้ำซ้อนของงาน และเป็นการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากรในการทำงาน  โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาของแต่ละชั้นปีดูแลนักศึกษาไปจนกระทั่งจบการศึกษา

เพื่อเพิ่มความใกล้ชิดและความคุ้นเคยให้แก่นักศึกษา ดังตารางต่อไปนี้

 

รายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ

 

งานที่ได้รับมอบหมาย

1. น.ท. สุรัฐ  ศรีเดช และ
อาจารย์ นพอนันต์  เพียรมั่นคง

อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1

2. อาจารย์ ชวัลณัฐ หงษ์วาณิชวงศ์

อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 2

3. อาจารย์ เคน ตัณฑะสุวรรณ

อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 3

4. อาจารย์ อมรเทพ อินทศร

อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 4

และมีการควบคุมกำกับดูแลทุกขั้นตอนโดยหัวหน้าและประธานสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ เช่น การจัดทำโครงการต่าง ๆ ภายในสาขาวิชาฯ การออกข้อสอบทั้งกลางภาคและปลายภาค การจัดทำ มคอ. 3 และ มคอ.5 จะต้องถูกตรวจสอบและเห็นชอบจากหัวหน้าสาขาวิชาฯ ก่อนการดำเนินการทุกครั้ง เพื่อความเป็นระเบียบและความถูกต้องของงาน และอาจารย์ทุกท่านมีภาระหน้าที่ในการทำงานประจำปีการศึกษา 2566 ดังนี้

รายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ

งานที่ได้รับมอบหมาย

1. น.ท. สุรัฐ  ศรีเดช

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,  2549

ปริญญาตรี: ศศ.บ. (รัฐศาสตร์/บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  2533

1. หัวหน้าและประธานหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

3. หัวหน้าโครงการสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

4. ผู้ควบคุมดูแลปริมาณงานของอาจารย์ภายในหลักสูตร

5. กรรมการวิพากย์หลักสูตร

6. คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร
7. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

8. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1

2. อาจารย์ นพอนันต์  เพียรมั่นคง

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,  2554

ปริญญาตรี: บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, 2549

1. รองหัวหน้าและรองประธานหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

3. คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร

4. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

5. อาจารย์ผู้เขียนรายงานการดำเนินการประจำปี

6. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1

3. อาจารย์ เคน ตัณฑะสุวรรณ

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 2554

ปริญญาตรี: บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548

1.อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. อาจารย์ผู้ติดตามภาวะการมีงานทำของบัณฑิต

3. คณะกรรมการประเมินผลภายในหลักสูตร

4. อาจารย์ผู้เขียนโครงการภายในสาขาวิชาฯ

5. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

6. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 2

4. อาจารย์ ชวัลณัฐ หงษ์วาณิชวงศ์

ปริญญาโท: กจ.ม (การจัดการการบิน) สถาบันการบินพลเรือน, 2560

ปริญญาตรี: กจ.บ (การจัดการข้อมูล)

มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555

1.อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2.อาจารย์ผู้จัดทำและเผยแพร่งานวิจัยประจำปีการศึกษา 2566

3. กรรมการและเลขานุการการวิพากย์หลักสูตร

4.อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

5. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 3

5. อาจารย์ อมรเทพ อินทศร

ปริญญาโท: กจ.ม (การจัดการการบิน) สถาบันการบินพลเรือน, 2564

ปริญญาตรี: วท.บ. (การควบคุมจราจรทางอากาศ) วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา,  2561

1.อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2.อาจารย์ผู้จัดทำและเผยแพร่งานวิจัยประจำปีการศึกษา 2566

3. อาจารย์ผู้ติดตามเรื่องการฝึกงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 4

4. อาจารย์ผู้ติดตามการนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4

6. อาจารย์ผู้รายงานผลการนิเทศศึกษา

7. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

8. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 4

9. อาจารย์ที่เรียนต่อระดับปริญญาเอก

หลักฐาน

  1. แผนการปฏิบัติงาน
  2. ตัวอย่าง มคอ. 3 และ มคอ. 5
  3. โครงการประจำปีการศึกษา 2566
  4. ตารางชั่วโมงที่ปรึกษาประจำชั้นปี

5.3 The programme to show that the competences of the academic staff are determined, evaluated, and communicated.

การดำเนินการ

หลักสูตรมีการกำหนดสมรรถนะของอาจารย์และบุคลากรเพื่อให้เป็นไปตามแผนการพัฒนาบุคลากรโดยอาจารย์และบุคลากรจะได้รับการปฐมนิเทศในครั้งแรกที่ปฏิบัติงาน และตามรอบระยะเวลาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อชี้แจงให้ทราบถึงบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ รายละเอียดหลักสูตร และการจัดทำประมวลรายวิชา (Course Syllabus) โดยอาจารย์และบุคลากรที่จะเข้ามาทำงานในหลักสูตรจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

การรับอาจารย์ใหม่ใช้หลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยฯ โดยอาจารย์ใหม่จะต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกสาขาการจัดการการบิน หรือสาขาที่เกาะเกี่ยว ที่มีประสบการณ์การบิน
มีความสามารถในการสอน มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความมุ่งหวังในความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการ และมีจริยธรรม คุณธรรม โดยประเมินการสอน และสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการที่คณบดีแต่งตั้งก่อนรับเข้าทำงาน

การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่

  1. จัดการปฐมนิเทศ เพื่อแนะแนวการเป็นครูแก่อาจารย์ใหม่ รวมทั้งการให้ความรู้ ความเข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย บทบาท ความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชา
  2. ชี้แจงปรัชญา วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต มอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น รายละเอียดหลักสูตร คู่มือการศึกษาและหลักสูตร คู่มืออาจารย์กฎระเบียบต่าง ๆ และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคนิควิธีการสอน การใช้สื่อ การวัดประเมินผล การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิจัยเพื่อพัฒนาการสอน การจัดทำรายละเอียดรายวิชา และแผนการสอน
  4. คณบดีมอบหมายอาจารย์อาวุโสเป็นพี่เลี้ยงเพื่อช่วยเหลือและให้คำแนะนำ และคำปรึกษาเพื่อเรียนรู้และการปรับตัวเองเข้าสู่การเป็นอาจารย์ในคณะ และเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนและการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา
  5. จัดห้องทำงาน สิ่งสนับสนุนและอำนวยความสะดวก รวมทั้งการสร้างสัมพันธภาพอันดีในการทำงานร่วมกันกับคณาจารย์ในสาขาวิชา

พร้อมทั้งมีการพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์และบุคลากร ดังนี้

  1. การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

         1.1 ส่งเสริมอาจารย์ให้เพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมกลยุทธ์และวิธีการสอนเชิงบูรณาการ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัยองค์ความรู้เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

        1.2 ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมฝึกอบรม ศึกษาดูงาน/เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางด้านงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับหน่วยงานภายนอก

        1.3 ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Management) ระหว่างคณาจารย์ด้วยกันเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย

   2 การพัฒนาทางด้านวิชาการและด้านอื่น ๆ

       2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่สังคมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้ด้านวิชาชีพและคุณธรรม เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคม อันจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเครือข่ายกับชุมชน/สังคม และนไองค์ความรู้ที่ได้รับมาต่อยอดบูรณาการสู่การเรียนการสอนและการวิจัย

      2.2 ส่งเสริม สนับสนุนและจูงใจให้คณาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการด้านการควบคุมจราจรทางอากาศที่มีคุณภาพสามารถนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และต่อยอดผลงานดังกล่าวสู่ผลงานวิชาการเพื่อขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น

       2.3 ส่งเสริมสนับสนุนและจูงใจให้อาจารย์พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาต่อในระดับคุณวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพให้มีความเชี่ยวชาญด้านวิชาการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565) หน้า 35

    3 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

        3.1 จัดอบรมเสริมทักษะการทำงานสมัยใหม่ให้แก่บุคลากรทุกคน

       3.2 จัดอบรมประจำปีเพื่อทบทวน/ประเมินผลการปฏิบัติงาน

       3.3 จัดกลุ่มบุคลากร และกระบวนการเพื่อการจัดการความรู้ข้ามหน่วยงาน

การประเมินการปฏิบัติงาน จะทำการประเมินโดยหัวหน้าสาขาวิชาฯ คณบดี และอธิการบดี ตามลำดับ โดยกำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตลอดอายุการทำงาน เพื่อให้บรรลุปณิธานการประเมินเพื่อการพัฒนา โดยยึดหลัก “ความยุติธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้” และแจ้งผลการประเมินพร้อมข้อปรับปรุงตามที่คณะกรรมได้ให้คำชี้แนะไว้ในใบประเมิน ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

หลักฐาน

  1. การประชุมบุคลากรประจำปี
  2. คู่มือบุคลากร
  3. แบบฟอร์มการประเมินงาน
  4. โครงการอบรมบุคลากร

5.4 The programme to show that the duties allocated to the academic staff are appropriate to qualifications, experience, and aptitude.

การดำเนินการ

หลักสูตรฯ ได้มีการกำหนดและวางแผนงานให้กับอาจารย์และบุคลากรตามทักษะ ความรู้ ความสามารถหรือความถนัดของคน ๆ นั้นอย่างชัดเจน โดยทางสาขาวิชาฯ นำโดยหัวหน้าสาขาวิชาฯ ได้มีการกำหนดภาระหน้าที่การทำงานของอาจารย์แต่ละท่าน เพื่อให้เหมาะสมกับคุณวุฒิ ประสบการณ์และความถนัดของแต่ละบุคคล ดังนี้

 

รายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ

 

งานที่ได้รับมอบหมาย

1. น.ท. สุรัฐ  ศรีเดช

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,  2549

ปริญญาตรี: ศศ.บ. (รัฐศาสตร์/บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  2533

1. หัวหน้าและประธานหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

3. หัวหน้าโครงการสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

4. ผู้ควบคุมดูแลปริมาณงานของอาจารย์ภายในหลักสูตร

5. กรรมการวิพากย์หลักสูตร

6. คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร
7. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

8. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1

2. อาจารย์ นพอนันต์  เพียรมั่นคง

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย,  2554

ปริญญาตรี: บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, 2549

1. รองหัวหน้าและรองประธานหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

3. คณะทำงานพัฒนาหลักสูตร

4. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

5. อาจารย์ผู้เขียนรายงานการดำเนินการประจำปี

6. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1

3. อาจารย์ เคน ตัณฑะสุวรรณ

ปริญญาโท: วท.ม. (การบริหารการบิน) มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 2554

ปริญญาตรี: บธ.บ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2548

1.อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2. อาจารย์ผู้ติดตามภาวะการมีงานทำของบัณฑิต

3. คณะกรรมการประเมินผลภายในหลักสูตร

4. อาจารย์ผู้เขียนโครงการภายในสาขาวิชาฯ

5. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

6. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 2

4. อาจารย์ ชวัลณัฐ หงษ์วาณิชวงศ์

ปริญญาโท: กจ.ม (การจัดการการบิน) สถาบันการบินพลเรือน, 2560

ปริญญาตรี: กจ.บ (การจัดการข้อมูล) มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555

1.อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2.อาจารย์ผู้จัดทำและเผยแพร่งานวิจัยประจำปีการศึกษา 2566

3. กรรมการและเลขานุการการวิพากย์หลักสูตร

4.อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

5. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 3

5. อาจารย์ อมรเทพ อินทศร

ปริญญาโท: กจ.ม (การจัดการการบิน) สถาบันการบินพลเรือน, 2564

ปริญญาตรี: วท.บ. (การควบคุมจราจรทางอากาศ) วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา,  2561

1.อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ

2.อาจารย์ผู้จัดทำและเผยแพร่งานวิจัยประจำปีการศึกษา 2566

3. อาจารย์ผู้ติดตามเรื่องการฝึกงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 4

4. อาจารย์ผู้ติดตามการนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 4

6. อาจารย์ผู้รายงานผลการนิเทศศึกษา

7. อาจารย์ผู้สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย

8. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 4

9. อาจารย์ที่เรียนต่อระดับปริญญาเอก

จากตารางด้านบน แสดงให้เห็นถึงจำนวนอาจารย์ และปริมาณงานที่ได้รับมอบหมายของอาจารย์แต่คน ซึ่งถือได้ว่ามีความเหมาะสมตามคุณวุฒิ ประสบการณ์ ที่ทุกคนมีอย่างชัดเจน

หลักฐาน

  1. CV อาจารย์ประจำหลักสูตร
  2. มคอ. 2
  3. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาหลักสูตร
  4. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการวิพากย์หลักสูตร
  5. ตารางอาจารย์ที่ปรึกษารายชั้นปี

5.5 The programme to show that promotion of the academic staff is based on a merit system which accounts for teaching, research, and service.

การดำเนินการ

หลักสูตรมีการประเมินผลโดยยึดตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรมและเกี่ยวข้องกับงาน โดยได้กำหนดการประเมินบุคลากรสายวิชาการไว้ ดังนี้

1. การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ หมายถึง การประเมินภาระงาน เพื่อพิจารณาการต่อสัญญาจ้าง โดยได้กำหนดหลักเกณฑ์ให้ครอบคลุม 4 พันธกิจ คือ งานวิชาการ งานวิจัย งานบริการวิชาการ และงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

2. การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับอาจารย์ใหม่ จะมีการประเมินการทดลองการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรใหม่ และการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีของอาจารย์ประจำหลักสูตรฯ ทุกปีการศึกษา โดยมีรายละเอียดการประเมิน ดังไฟล์แนบ แบบประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา

3. การประเมินการสอนของอาจารย์ ทางคณะฯได้จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน และทางคณะได้ใช้กระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในระดับหลักสูตรเพื่อทบทวนและประเมินการสอนของอาจารย์ให้เป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนด โดยแบบทวนสอบที่คณะจัดทำขึ้น จะพิจารณาถึงความสอดคล้องของผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรและผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับกระบวนวิชา รวมถึงสอดคล้องของผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับกระบวนวิชากับวิธีการสอนและวัดประเมินผล อีกส่วนหนึ่งพิจารณาถึงผลสะท้อนกลับว่าผู้เรียนบรรลุตามผลลัพธ์ที่กำหนดหรือไม่ จากวิธีการสอนและวิธีการประเมินของผู้สอน แบบทวนสอบผลสัมฤทธิ์ โดยมีแบบฟอร์มการประเมิน ดังไฟล์แนบ Verification of Learning Outcomes Achievement Report

หลักฐาน
1. ตัวอย่างแบบประเมิน

2. ผลการทวนสอบ

5.6 The programme to show that the rights and privileges, benefits, roles and relationships, and accountability of the academic staff, taking into account professional ethics and their academic freedom, are well defined and understood.

หลักสูตรได้มีการกำหนดหน้าที่และภาระงานของอาจารย์และบุคลากรที่จะเข้ามาปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจน โดยระบุรายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานไว้ในคู่มือบุคลากร ดังนี้

  1. การสรรหา คัดเลือกและการแต่งตั้ง
  2. อัตราเงินเดือน ค่าตอบแทน
  3. สวัสติการและเงินช่วยเหลือ
  4. วัน เวลาทำงาน วันหยุดและการลาหยุด
  5. การประเมินลการปฏิบัติงาน
  6. การพ้นสภาพและการเลิกสัญญาจ้าง
  7. วินัยและมาตรการทางวินัย

ซึ่งก่อนที่ทุกคนจะเข้ามาปฏิบัติงานได้นั้น จะต้องมีคุณสมบัติตามที่คู่มือบุคลากรได้กำหนดไว้ และยอมรับเงื่อนไขตามที่ได้ระบุไว้ในคู่มือเล่มนั้น เพื่อให้ทุกคนที่เข้ามาปฏิบัติงาน ได้ใช้กฎ ระเบียบ และเงื่อนไขเดียวกันในขณะปฏิบัติงาน และเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของทั้งทางสาขาวิชาฯ และองค์กรต้นสังกัด

หลักฐาน

  1. คู่มือบุคลากร

5.7 The programme to show that the training and developmental needs of the academic staff are systematically identified, and that appropriate training and development activities are implemented to fulfil the identified needs.

การดำเนินการ

หลักสูตรมีการกำหนดและวางแผนการพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์ในปีการศึกษา 2566 ที่ผ่านมา ดังนี้

  1. การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

          1.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิธีการสอน กลยุทธ์ในการสอน การวัดและการประเมินผลในรายวิชา พร้อมทั้งเข้าร่วมสัมมนากับ QUVAE ภายใต้หัวข้อ
” Webinar On Triumphs: Life Hacks For Success In The Classroom And Beyond” เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเปลี่ยน เรียนรู้เทคนิคการเรียนการสอนจากนานาต่างประเทศ และนำมาปรับใช้ในชั้นเรียน

         1.2 สนับสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตร และอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยฯ มีการสอนร่วมกันกับอาจารย์ผู้ชำนาญการจากภายนอก โดยจัดให้มีการเรียนการสอนแบบบูรณาการร่วมกัน หรือแบ่งกันสอนคนละ 50% ของระยะเวลาการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา

  1. การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ

           2.1 สนับสนุนให้ผู้สอนทำงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่โดยให้คณาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการด้านการควบคุมจราจรทางอากาศที่มีคุณภาพสามารถนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และต่อยอดผลงานดังกล่าวสู่ผลงานวิชาการเพื่อขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้นไป ซึ่งในปีการศึกษา 2566 นั้น สาขาวิชาฯ ได้มีการเผยแพร่งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบินและการควบคุมจราจรทางอากาศ ทั้งหมด 2 เรื่อง โดยอาจารย์ เคน ตัณฑสุวรรณ และ อาจารย์ อมรเทพ อินทศร ผ่านใต้ข้อการวิจัย ดังนี้

  1. การจัดการพื้นที่สาธารณะการให้บริการของท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง-พัทยา) หรือ Management of Public Area Services at U-Tapao International Airport (Rayong-Pattaya)
  2. ปัจจัยสู่ความสำเร็จด้านอาชีพของเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศ กรณีศึกษา โรงเรียนการบินเอกชนแห่งหนึ่ง หรือ THE FACTORS OF SUCCESS IN AIR TRAFFIC CONTROL CAREER A CASE STUDY OF A PRIVATE SCHOOL
  3. การพัฒนาเชิงวิชาการและวิชาชีพด้านอื่น ๆ

           3.1 สนับสนุนให้ผู้สอนมีการบริการทางวิชาการที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานและสังคมเพื่อให้สามารถนำประสบการณ์มาพัฒนาการเรียนการสอน โดยในปีการศึกษาที่ผ่านมา คณะอาจารย์ประจำหลักสูตรฯ และตัวแทนนักศึกษาได้เข้าร่วม โครงการบริการทางวิชาการ การอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือเหล่าอากาศ ณ โรงเรียนราชวินิตบางแก้วในพระบรมราชูปถัมภ์  ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 28-29  กันยายน 2566 ที่ผ่านมา โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังให้อาจารย์และนักศึกษา สามารถนำความรู้ ความสามารถที่ได้เรียนมาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ร่วมถึงฝึกให้นักศึกษาฯ กล้าที่จะแสดงออกและมีภาวการณ์เป็นผู้นำในการดำเนินกิจกรรม 2. เพื่อฝึกให้อาจารย์และนักศึกษาสามารถเข้าใจแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นหรือองค์กรอื่นได้ พร้อมทั้งสามารถวางแผนงานได้อย่างละเอียดรอบคอบ ทั้งก่อนการดำเนินกิจกรรม ระหว่างดำเนินกิจกรรม และสรุปผลหลังจากดำเนินกิจกรรมได้อย่างเป็นระบบ และ3. เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ชื่อของมหาวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา และหลักสูตรสาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control Program) ให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณะและผู้ที่สนใจ พร้อมทั้งเข้าร่วม การฝึกอบรม Learning exchange invitation for SAR writers ภายใต้หัวข้อ STIC Education Quality Standard Criteria 2022 (Curriculum Level Reviseed 2023) ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 และเข้าร่วมรับฟังการสัมมนา Academic Title Workshop of Academic Year 2023 ภายใต้หัวข้อ How to Apply for an Academic Position: Assisstant Professor ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 7 ธันวาคม 2566 และการบริหารและการพัฒนาหลักสูตรตามแนวทางของกฎหมายใหม่ ในวันจันทร์ที่ 15 มกราคม 2567 ที่ผ่านมา

         3.2 จัดโครงการอบรม ณ สถานประกอบการ โดยทางสาขาวิชาฯ ได้จัดส่งอาจารย์ประจำหลักสูตรไปเข้ารับการฝึกอบรม ร่วมกับ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด ภายใต้โครงการพัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ (โครงการฝึกอบรมการปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศเขตสนามบิน) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมอาจารย์ให้เพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ และทักษะในการปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ พร้อมทั้งบูรณาการความรู้ที่ได้ เพื่อนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน และเพื่อส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมฝึกอบรม ร่วมมือแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ใหม่ ๆ ด้านการควบคุมจราจรทางอากาศและการบิน และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างสถาบันและสถานประกอบการ

         3.3 สนับสนุนให้ผู้สอนได้รับประสบการณ์จริงด้านการทำผลงานวิจัย โดยการอบรมผ่านระบบออนไลน์กับ QUVAE ภายใต้หัวข้อ “Webinar On เทคนิคการเขียนงานวิจัยเชิงคุณภาพให้ได้ตีพิมพ์ “

หลักฐาน

  1. แผนการพัฒนาบุคลากร
  2. โครงการ พัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ (โครงการฝึกอบรมการปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศเขตสนามบิน)
  3. เกียรติบัตร “Webinar on Triumphs: Life Hacks for Success in the Classroom and Beyond”
  4. เกียรติบัตร “Webinar On ELT Curriculum And Material Development”
  5. ผลงานวิจัยประจำปี 2566
  6. การฝึกอบรม Learning exchange invitation for SAR writers
  7. การบริหารและการพัฒนาหลักสูตรตามแนวทางของกฎหมายใหม่
  8. การสัมมนา Academic Title Workshop of Academic Year 2023

5.8 The programme to show that performance management including reward and recognition is implemented to assess academic staff teaching and research quality.

การดำเนินการ

     หลักสูตรและมหาวิทยาลัยฯ ได้มีการจัดทำแผนพัฒนา (Improvement Plan) เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยต่อผู้เรียน รองรับการเปลี่ยนแปลงด้านอุตสาหกรรมการบินในไทย และปรับตัวเข้ากับอุตสาหกรรมในอนาคต หรือ New S curve ซึ่งมุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ได้มากที่สุดบนพื้นฐานของประเทศไทยด้านอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ โดยได้นำผลการดำเนินงานตลอดปีการศึกษามาทำการประเมินและวางแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรดังนี้

      ปรับปรุงเนื้อหาการเรียนการสอนให้ทันสมัย ตามคำแนะนำของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยได้ปรับปรุงรายวิชาที่มีอยู่ให้มีเนื้อหาที่ทันสมัยขึ้น และปรับลดรายวิชาที่อาจจะไม่จำเป็นและล้าสมัยลง เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ที่เหมาะสม ทันสมัย และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปสอบแข่งขันหรือไปปฏิบัติงานหลังสำเร็จการศึกษาตามคำชี้แนะของของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาทิเช่น รายวิชา 223 116 Airline Ramp Control ได้มีการเพิ่มเติมเนื้อหาภายในให้ทันสมัยและนำความรู้เรื่องเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน เช่น ระบบ VDGS (Visual Docking Guidance System) รายวิชา 222 407 Airport Operation Management ได้มีการเพิ่มเติมเนื้อหาเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยี และอุปกรณ์อัตโนมัติในสนามบินเข้ามาเพิ่มเติม เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานหรือการเดินทางได้ถูกต้อง เช่นระบบเช็คอินด้วยเอง ระบบโหลดกระเป๋าอัตโนมัติ ระบบปริ้นบัตรโดยสารด้วยเครื่อง KIOSK รายวิชา 223 226 Radar Approach Control Simulation ได้มีการเพิ่มเติมหาเกี่ยวกับ ระบบ GPS,  RNAV,  GNSS, and Satellite เข้ามาในการเรียนการสอนในการฝึกปฏิบัติ ณ ห้องปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ

     สำหรับการนิเทศน์ศึกษาทางสถานประกอบการ และหัวหน้างานได้เสนอแนะให้ทางสาขาวิชาฯ ขยายระยะเวลาการฝึกงานให้เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้งานได้อย่างเต็มที่และมีความพร้อมในการปฏิบัติงานจริงหลังจากจบการศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะให้ทางสาขาวิชาฯ ดำเนินการเพิ่มเติมรายวิชาที่เกี่ยวกับโดรนเข้ามาบรรจุในหลักสูตรด้วย เนื่องจากในปัจจุบัน โดรนได้เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อวงการการบินเพิ่มมากขึ้น ทั้งเชิงพาณิชย์ที่ใช้โดรนในการขนส่ง ทางด้านบรรเทิงที่ใช้โดรนในการถ่ายทำหนังหรือภาพยนต์  และทางด้านการเกษตรที่ใช้โดรนในการฉีดพ่นยากำจัดศัตรูพืชหรือว่านเมล็ดข้าว ซึ่งโดรนเหล่านี้อาจจะไปรบกวนพื้นที่ที่ใช้ในการทำการบินได้ ดังนั้น กพท. หรือ กรมการบินพลเรือนระหว่างประเทศ จึงได้ออกกฎหมายข้อบังคับการใช้โดรนออกมา เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติและการสูญเสียทั้งร่างกายและทรัพสินธ์ระหว่างการชนกันของอากาศยานและโดรน ดังนั้น นักศึกษาที่เรียนเกี่ยวข้องกับการควบคุมจราจรทางอากาศ การจัดการการบิน หรืออุตสาหกรรมการบินควรจะรู้กฎระเบียบข้อบังคับเหล่านี้ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะที่จำเป็นให้แก่ตนเองอีกทางหนึ่งด้วย ส่วนในเรื่องด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านทักษะเฉพาะทาง นักศึกษาสาขาวิชาควบคุมจราจรทางอากาศสามารถนำความรู้ที่ได้เรียนมาไปปรับใช้ระหว่างการฝึกงานได้เป็นอย่างดี เช่น การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การทำงานเป็นทีม การวางแผนเส้นทางการบิน การสื่อสารระหว่างรุ่นพี่ เพื่อนร่วมงาน และพนักงานคนอื่น ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่นักศึกษาพึ่งมีหลักจากจบการศึกษาของหลักสูตร

     สาขาวิชาฯ ได้มีการประชุมภายในเกี่ยวกับเรื่องนี้และเห็นสมควรให้มีการบรรจุรายวิชาที่เกี่ยวกับโดรนเข้ามาในหลักสูตรเพิ่มอีก 1 วิชา ในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งถัดไป เพื่อเป็นการเตรียมความรู้และความพร้อมให้แก่นักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบ และวิธีการใช้โดรนให้ถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมกันนี้ยังได้ปรึกษาหารือกับอาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาควบคุมจราจรทางอากาศทุกท่านเกี่ยวกับารขยายระยะเวลาการฝึกงานออกไปตามข้อเรื่องร้องของสถานประกอบการ โดยการข้อสรุปจากการประชุมในครั้งนี้เห็นควรให้ขยายระยะเวลาการฝึกสหกิจศึกษาออกไปจาก 3 เดือน เป็น 4 เดือน เพื่อให้นักศึกษาคุ้นเคยและเรียนรู้งานกับสถานประกอบการให้เต็มที่และพร้อมปฏิบัติงานเมื่อสำเร็จการศึกษา

     ด้านผลการวิจัย ทางสาขาวิชาฯ ได้ดำเนินการเผยแพร่วิจัยหรือบทความทางวิชาการตลอดเป็นจำทุกปี เพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ ๆ และทันสมัยเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการบินและการควบคุมจราจรทางอากาศ โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรฯ ทุกท่าน จะแบ่งกันดำเนินการวิจัยในแต่ละปีการศึกษา ปีการศึกษาละไม่น้อยกว่า 1 เรื่อง ดังตารางรายละเอียดผลงานการวิจัย 5 ปีย้อนหลัง ของอาจารย์แต่ละท่าน ดังนี้

รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรฯ

ปีการศึกษา

2019

2020

2021

2022

2023

รวม

น.ท. สุรัฐ ศรีเดช

1

3

1

5

อาจารย์นพอนันต์ เพียรมั่นคง

2

1

3

อาจารย์เคน ตัณฑสุวรรณ

1

2

1

4

อาจารย์ชวัลณัฐ หงส์วาณิชวงศ์

1

1

2

อาจารย์อมรเทพ อินทศร

1

1

1

1

2

6

รวมผลงานวิจัย

4

8

3

2

3

20

หลักฐาน

1. Improvement Plan

2. ผลงานการวิจัย

3. มคอ. 2

Evidence

ID_EvidenceName_Evidence
5.1-1โครงการพัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ
5.1-2โครงการบริการทางวิชาการ
5.1-3การฝึกอบรมและสัมมนา
5.1-4แผนพัฒนาอาจารย์
5.1-5ทุนการศึกษา ป.เอก
5.1-6ผลงานการวิจัย
5.2-1แผนการปฏิบัติงาน
5.2-2ตัวอย่าง มคอ.3 และ มคอ.5
5.2-3โครงการประจำปีการศึกษา 2566
5.2-4ตารางชั่วโมงที่ปรึกษาประจำชั้นปี
5.3-1การประชุมบุคลากรประจำปี
5.3-2คู่มือบุคลากร
5.3-3แบบฟอร์มการประเมินงาน
5.3-4โครงการอบรมบุคลากร
5.4-1CV อาจารย์ประจำหลักสูตร
5.4-2มคอ. 2
5.4-3คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาหลักสูตร
5.4-4คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการวิพากย์หลักสูตร
5.4-5ตารางอาจารย์ที่ปรึกษารายชั้นปี
5.5-1ตัวอย่างแบบประเมิน
5.5-2ผลการทวนสอบ
5.6-1คู่มือบุคลากร
5.7-1แผนการพัฒนาบุคลากร
5.7-2โครงการ พัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ (โครงการฝึกอบรมการปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศเขตสนามบิน)
5.7-3เกียรติบัตร “Webinar on Triumphs: Life Hacks for Success in the Classroom and Beyond”
5.7-4เกียรติบัตร “Webinar On ELT Curriculum And Material Development”
5.7-5ผลงานวิจัยประจำปี 2566
5.7-6การฝึกอบรม Learning exchange invitation for SAR writers
5.7-7การบริหารและการพัฒนาหลักสูตรตามแนวทางของกฎหมายใหม่
5.7-8การสัมมนา Academic Title Workshop of Academic Year 2023
5.8-1Improvement Plan
5.8-2ผลงานการวิจัย
5.8-3มคอ. 2

Self-Assessment

RequirementsResultScore
5.1 The programme to show that academic staff planning (including succession, promotion, re-deployment, termination, and retirement plans) is carried out to ensure that the quality and quantity of the academic staff fulfill the needs for education, research, and service./1
5.3 The programme to show that the competences of the academic staff are determined, evaluated, and communicated./
5.2 The programme to show that staff workload is measured and monitored to improve the quality of education, research, and service./1
5.4 The programme to show that the duties allocated to the academic staff are appropriate to qualifications, experience, and aptitude./
5.5 The programme to show that promotion of the academic staff is based on a merit system which accounts for teaching, research, and service.
5.6 The programme to show that the rights and privileges, benefits, roles and relationships, and accountability of the academic staff, taking into account professional ethics and their academic freedom, are well defined and understood.
5.7 The programme to show that the training and developmental needs of the academic staff are systematically identified, and that appropriate training and development activities are implemented to fulfil the identified needs./1
5.8 The programme to show that performance management including reward and recognition is implemented to assess academic staff teaching and research quality./1
Overall4

Leave a Reply