Criterion 7 – Facilities and Infrastructure

Criterion 7 – Facilities and Infrastructure

Requirements for AUNQA Criterion 7
No.TitleDescription
7.1Physical resourcesThe physical resources to deliver the curriculum, including equipment, material, and information technology, are shown to be sufficient.
7.2Laboratory and equipmentThe laboratories and equipment are shown to be up-to-date, readily available, and effectively deployed.
7.3Digital libraryA digital library is shown to be set-up, in keeping with progress in information and communication technology.
7.4Information technologyThe information technology systems are shown to be set up to meet the needs of staff and students.
7.5Computer networkThe university is shown to provide a highly accessible computer and network infrastructure that enables the campus community to fully exploit information technology for teaching, research, service, and administration.
7.6Health and safetyThe environmental, health, and safety standards and access for people with special needs are shown to be defined and implemented.
7.7Conducive environmentThe university is shown to provide a physical, social, and psychological environment that is conducive for education, research, and personal wellbeing.
7.8Facility service competencesThe competences of the support staff rendering services related to facilities are shown to be identified and evaluated to ensure that their skills remain relevant to stakeholder needs.
7.9Facility quality enhancementThe quality of the facilities are shown to be subjected to evaluation and enhancement.
Diagnostic questions
  • Are there sufficient lecture-halls, seminar rooms, laboratories, reading rooms, and computer rooms?
  • Do these facilities meet the needs of students and staff?
  • Is the library sufficiently equipped for education and research?
  • Is the library accessible and within easy reach (location, opening hours)?
  • Are there sufficient laboratory facilities?
  • Do the laboratories meet the relevant requirements?
  • Are sufficient teaching aids and tools available to staff and students?
  • What hardware and software are made available to meet the needs of education and research?
  • To what extent do the facilities and infrastructure promote or obstruct the delivery of the programme?
  • Is the total budget for teaching aids and tools sufficient?
  • How are the facilities and infrastructure maintained?
Scoring for TRSU QA
TRSU QA score12345
Items showing
QA practice
1-2 item3-4 items5-6 items7-8 items8 items + 7.9
AUNQA scoring rubrics

A seven-point rating scale used for AUNQA assessment is described below.

1. Absolutely inadequate

The QA practice to fulfil the criterion is not implemented
There are no plans, documents, evidences or results available. 
Immediate improvement must be made.

2. Inadequate and improvement is necessary

The QA practice to fulfil the criterion is still at its planning stage or is inadequate where improvement is necessary. 
There is little document or evidence available. 
Performance of the QA practice shows little or poor results.

3. Inadequate but minor improvement will make it adequate

The QA practice to fulfil the criterion is defined and implemented but minor improvement is needed to fully meet them. Documents are available but no clear evidence to support that they have been fully used. Performance of the QA practice shows inconsistent or some results.

4. Adequate as expected

The QA practice to fulfil the criterion is adequate and evidences support that it has been fully implementedPerformance of the QA practice shows consistent results as expected.

5. Better than adequate

The QA practice to fulfil the criterion is better than adequate. Evidence supports that it (the QA practice) has been efficiently implemented. Performance of the QA practice shows good results and positive improvement trend.

6. Example of best practice

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be example of best practices in the field. Evidences support that it has been effectively implemented
Performance of QA practice shows very good results and positive improvement trend.

7. Excellent (example of world-class or leading practice)

The QA practice to fulfil the criterion is considered to be excellent or is an example of world-class practices in the field. Evidences support that it has been innovatively implemented. 
Performance of the QA practice shows excellent results and outstanding improvement trends.

Guide to writing a self-assessment report (SAR)
  • The report is the account of the self-assessment. It is not only descriptive but also analytical. It identifies and evaluates the problems and also provides an indication of how the problems identified will be dealt with. (Use the diagnostic questions provided in each of the AUN-QA criteria to do this.)
  • Illustrate clearly what, where, when, who, and how the QA mechanisms or instruments are implemented and managed to fulfil the criteria. This will help to piece all related information together.
  • Focus on information and data (objective evidences) that directly address the criteria. The report has to be concise and factual. Provide trends and statistics to show achievement and performance.
What is the QA practice to fulfil the criterion?

Quality assurance practice should mean QA plan that evaluates and/or modifies organization’s procedures to ensure that they provide the desired results. The QA plan documents the planning, implementation and assessment procedures for a project, process or any QA activity.
The QA plan should provide information about some or all of the following.

  • An overview of the project or process describing background, need, scope, activities, and deadlines;
  • Quality objectives to be attained (for example, characteristics, effectiveness, cycle time, cost, etc.);
  • Steps in the process that constitute the operating practice or procedures of the organization;
  • Allocation of responsibilities, authority, and resources for different phases of the project/process;
  • Specific document describing standards, practices, procedures, and instructions to be applied;
  • Suitable testing, inspection, examination, and audit programs at appropriate stages;
  • A documented procedure for changes and modifications to a quality plan as a process is improved;
  • A method for measuring the achievement of the quality objectives;

    (Source: https://asq.org/quality-resources/quality-plans)

Operational Result

7.1 The physical resources to deliver the curriculum, including equipment, material, and information technology, are shown to be sufficient.

การดำเนินการ 

หลักสูตรได้จัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนด้านทรัพยากรทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็นให้กับนักศึกษาในสัดส่วนที่เหมาะสมและเพียงพอต่อจำนวนนักศึกษาในระหว่างการเรียนการสอน เช่น เก้าอี้คอมพิวเตอร์ ระบบเรดาร์ วิทยุสื่อสาร ไฟส่องสว่าง สัญญาณอินเทอร์เน็ต เครื่องสำรองไฟฟ้า โมเดลเครื่องบินและโต๊ะ Table Top ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการจำลองทางอากาศ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่นักศึกษาระหว่างการเรียนการสอน รวมทั้งยังได้จัดหาหนังสือเพิ่มเติมเกี่ยวกับด้านการบินมาไว้ให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือเวลาเรียนหรือทบทวนแนวข้อสอบก่อนการทดสอบ โดยสาขาวิชาฯ ได้จัดหาเอกสารเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหานอกเหนือจากที่มีในห้องสมุดที่มหาวิทยาลัยฯ จัดให้มาบริการนักศึกษา โดยนักศึกษาสามารถเข้ามาใช้พื้นที่ที่จัดไว้ให้ได้ตามความสะดวกและความเหมาะสม

พร้อมกันนี้ ทางสาขาวิชาฯ ยังได้มีการดูแลรักษา ซ่อมแซมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานอยู่ได้ตลอดเวลา โดยการว่าจ้างช่างจากภายนอกมาทำการตรวจเช็ค ซ่อมแซม ทั้งอุปกรณ์ และระบบเรดาร์ที่ชำรุดภายในห้องปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่นักศึกษาในระหว่างการเรียนการสอนให้สามารถใช้อุปกรณ์และทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพสูงสุด

หลักฐาน

  1. ไฟล์หนังสือเพิ่มเติมสำหรับนักศึกษา
  2. วิดีโอสถานที่อำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา
  3. ภาพห้องปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศ
  4. รายการซ่อมแซมอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ                                                                  

7.2 The laboratories and equipment are shown to be up-to-date, readily available, and effectively deployed.

การดำเนินการ 

หลักสูตรฯ มีห้องปฏิบัติการที่ทันสมัยที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการควบคุใจราจรทางอากาศ ได้แก่ กลุ่มวิชาชีพบังคับ จำนวน 8 รายวิชา ดังนี้

  1. 223 221 การควบคุมจราจรทางอากาศสนามบิน
    Aerodrome Control Service                                                      
  2. 223 222 ปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศสนามบิน                                                        Aerodrome Control Simulation  
  3. 223 223 การควบคุมจราจรทางอากาศเข้า-ออก สนามบินไม่ใช้เรดาร์                                                          Approach Control Non-Radar Service                                   
  4. 223 224 ปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศเข้า-ออกสนามบินไม่ใช้เรดาร์                                  Approach Control Non-Radar Simulation                               
  5. 223 225 การควบคุมจราจรทางอากาศเข้า-ออกสนามบินด้วยเรดาร์
    Radar Approach Control Service
  6. 223 226 ปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศเข้า-ออกสนามบินด้วยเรดาร์
    Radar Approach Control Simulation
  7. 223 227 การควบคุมจราจรทางอากาศตามเส้นทางบินไม่ใช้เรดาร์                                                                Area Control Non-Radar Service                                                           
  8. 223 228 ปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศตามเส้นทางบินไม่ใช้เรดาร์                                   Area Control Non-Radar Simulation                                               

โดยหลักสูตรมีการพัฒนาปรับปรุงห้องปฏิบัติการเป็นระยะ ๆ โดยพิจารณาจากความเหมาะสมและอายุการใช้งานของอุปกรณ์ชิ้นนั้น ๆ  และเก็บรวบรวมข้อมูลจากทั้งอาจารย์ในหลักสูตร อาจารย์พิเศษและจากนักศึกษา เพื่อขออนุมัติซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติมแทนอุปกรณ์อันเก่าที่ชำรุดหรือพังเสียหายจากทางมหาวิทยาลัยฯ เพื่อให้อุปกรณ์ทุกชิ้นมีประสิทธิภาพและทันสมัยต่อการเรียนการสอน พร้อมกันนี้หลักสูตรยังได้ร่วมกับทางมหาวิทยาลัยฯ ในการว่าจ้างช่างจากภายนอก เพื่อให้เข้ามาดูแลและพัฒนาระบบที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชา Radar Approach Control Simulation ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง เพื่อให้ระบบมีความเสถียรและพร้อมใช้งานตลอดเวลา

หลักฐาน

  1. ภาพถ่ายอาคารและห้องปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศ
  2. รานงานการขอเบิกอุปกรณ์/การซ่อมบำรุงอุปกรณ์

7.3 A digital library is shown to be set-up, in keeping with progress in information and communication technology.

การดำเนินการ 

หลักสูตรฯ ร่วมกับทางมหาวิทยาลัยฯ ได้มีการดำเนินการและพัฒนาห้องสมุดประจำมหาวิทยาลัยฯ ให้เป็นห้องสมุดดิจิทัลที่ทันสมัย โดยนักศึกษาสามารถเข้าถึงและใช้งานได้ตลอดเวลาและ
ทุกที่ สะดวกต่อการใช้งานของนักศึกษาและเป็นแหล่งเรียนรู้ในการสนับสนุนการเรียนการสอนของอาจารย์และนักศึกษา ซึ่งห้องสมุดมหาวิทยาลัยฯ ได้อำนวยความสะดวกให้กับอาจารย์และนักศึกษาในการเข้ามาศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในรายวิชาหรือศาสตร์ของหลักสูตรที่เปิดกว้างและข้อมูลใหม่ ๆ ที่อัพเดตในอุตสาหกรรมการบินได้เป็นอย่างดี

เทคโนโลยีที่ใช้ในห้องสมุดดิจิทัล:

  • ระบบค้นคืนข้อมูล:ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว แม่นยำ
  • ระบบยืม-คืนออนไลน์:สะดวก รวดเร็ว โดยไม่ต้องเดินทางไปที่ห้องสมุด
  • ระบบอ่าน e-book:รองรับการอ่านบนอุปกรณ์หลากหลาย
  • ระบบฐานข้อมูล:รวบรวมข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล
  • เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์:ช่วยให้เข้าใจความต้องการของผู้ใช้แนะนำเนื้อหาที่ตรงใจ

แนวโน้มการพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลในอนาคต:

  • เน้นการเข้าถึงผ่านอุปกรณ์พกพา
  • นำเทคโนโลยี VR/AR มาใช้เพื่อเพิ่มประสบการณ์การอ่าน
  • พัฒนาระบบ AI เพื่อแนะนำเนื้อหาที่ตรงใจผู้ใช้
  • เน้นการให้บริการแบบ personalized
  • มุ่งเน้นการสร้างชุมชนออนไลน์สำหรับนักอ่าน

ประโยชน์ของการใช้ห้องสมุดดิจิทัล:

  • เข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา
  • สะดวก รวดเร็ว
  • ประหยัดค่าใช้จ่าย
  • มีเนื้อหาให้เลือกหลากหลาย
  • รองรับการใช้งานบนอุปกรณ์หลากหลาย

หลักฐาน

  1. เว็บไซต์ห้องสมุด
  2. แผ่นพับห้องสมุด

7.4 The information technology systems are shown to be set up to meet the needs of staff and students.

การดำเนินการ

หลักสูตรร่วมมือกับฝ่ายเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยฯ ในการจัดทำและปรับปรุงระบบสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในด้านการเรียนรู้และด้านกิจกรรมของหลักสูตรฯ ให้มีความทันสมัยและประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศนั้น ๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ท่านมี เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ต โน๊ตบุ๊ค เป็นต้น

โดยระบบสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางหลักสูตรฯ และมหาวิทยาลัยฯ มีบริการให้แก่บุคลากรและนักศึกษามี ดังนี้

1.ระบบทะเบียนและระบบการศึกษา ช่วยให้นักศึกษาสามารถดูผลการเรียน ผลการลงทะเบียน ตารางสอน ตารางสอบ ได้อย่างง่ายดายผ่านระบบนี้

2. ระบบสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) ช่วยให้อาจารย์ผู้สอนสามารถเข้ามาบันทึกข้อมูลแผนการเรียนการสอน ส่งผลคะแนนผลการศึกษา และตัดเกรดได้ และช่วยให้อาจารย์ที่ปรึกษา สามารถเข้าถึงข้อมูลของนักศึกษาเป็นรายบุคคล เพื่อติดตามผลการเรียนและแนะนำข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้แก่นักศึกษาได้ทันเวลา

3. ระบบ LMS ช่วยให้อาจารย์สามารถทำการทดสอบออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ โดยการอัพโหลดข้อสอบลงไปในระบบและให้นักศึกษาทำแบบทดสอบด้วยเองจากที่บ้าน ซึ่งเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่นักศึกษาในอีกทางหนึ่ง

4. เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยฯ ช่วยให้ผู้ที่สนจะเข้ามาศึกษาในสาขาวิชาฯ สามารถค้นหาข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจในการเข้ามาเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา

5. ระบบเรดาร์ ช่วยให้นักศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศโยใช้เรดาร์เสมือนปฏิบัติงานจริงได้

หลักฐาน

  1. ระบบทะเบียนและระบบการศึกษา
  2. ระบบสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS)
  3. ระบบ LMS
  4. เว็บไซต์มหาวิทยาลัยฯ
  5. ระบบเรดาร์

7.5 The university is shown to provide a highly accessible computer and network infrastructure that enables the campus community to fully exploit information technology for teaching, research, service, and administration.

การดำเนินการ

หลักสูตรฯ สามารถเข้าถึงและใช้งานบนระบบอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยของมหาวิทยาลัยฯ และครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของมหาวิทยาลัยฯ ทั้งในอาคารและบริเวณนอกอาคารทำให้อาจารย์และนักศึกษาสามารถทำกิจกรรมการเรียนการสอน การศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เป็นเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพผ่านระบบต่าง ๆ ที่ได้กล่าวไปแล้วในข้อที่ 6.4

หลักฐาน

 –

7.6 The environmental, health, and safety standards and access for people with special needs are shown to be defined and implemented.

การดำเนินการ

หลักสูตรฯ ปฏิบัติตามข้อกำหนดและมาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม สุขภาพและความปลอดภัยตามที่มหาวิทยาลัยฯ กำหนดอย่างเคร่งครัด เพื่อให้การอยู่ร่วมกันในชุมชนเป็นไปด้วยความสุข โดยได้ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาที่ขับขี่รถจักรยานยนต์สวมใส่หมวกนิรภัยทุกครั้งที่ทำการขับขี่และให้สวมใส่ทั้งผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้าย และประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาสวมใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้งที่ออกไปนอกพื้นที่ที่ตนเองอาศัยอยู่ และให้สวมใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาเออยู่มนพื้นที่แออัด ในกรณีที่มีปัญหาหลักสูตรฯ สามารถนำเสนอปัญหาและเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องได้กับฝ่ายกิจกรรมและพัฒนานักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพและความปลอดภัย

หลักฐาน

  1. การสวมใส่หน้ากากอนามัยระหว่างทำการเรียนการสอน
  2. ป้ายประกาศขอความร่วมมือการสวมใส่หมวกนิรภัย

7.7 The university is shown to provide a physical, social, and psychological environment that is conducive for education, research, and personal wellbeing.

การดำเนินการ

หลักสูตรได้ร่วมมือกับทางมหาวิทยาลัยฯ ในการจัดและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอน และด้านอื่น ๆ ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงส่งเสริมให้อาจารย์และนักศึกษา มีการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพในขณะทำการเรียนการสอน และการอยู่ร่วมกันในสังคมของมหาวิทยาลัยฯ โดยทางมหาวิทยาลัยฯได้จัดให้มีลานกิจกรรม ลานกีฬา มากมายไว้รองรับให้นักศึกษาสามารถเข้ามาใช้ได้หลังเลิกเรียนและระหว่างการเรียนการสอน เช่น อาคารฟิตเนต สระว่ายน้ำ สนามบอล สนามกอล์ฟ สนามบาสเก็ตบอล เป็นต้น เพื่อให้นักศึกษาทุกคนได้มาใช้เวลาว่างหลังเลิกเรียนร่วมให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด และยังได้สุขภาพที่ดีกลับไปอีกด้วย

หลักฐาน

  1. รายงานสรุปการจัดกิจกรรม
  2. วิดีโอ ภาพกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยฯ

7.8 The competences of the support staff rendering services related to facilities are shown to be identified and evaluated to ensure that their skills remain relevant to stakeholder needs.

การดำเนินการ

หลักสูตรฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยฯ ในการกำหนดคุณสมบัติ ขั้นตอนการรับบุคลากรสายสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ เพื่อให้ได้มาซึ่งบุคลากรที่มีคุณภาพ และหลักสูตรได้กำหนดให้บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ได้มีโอกาสในการพัฒนาตนเองทั้งในด้านการเพิ่มพูนความรู้ ในการให้บริการและด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยกำหนดเป็นแผนการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล ตลอดจนการส่งเสริมความก้าวหน้าในหน้าที่การงานของบุคลากร หลักสูตรมีการประเมินสมรรถนะประจำทุกปีเพื่อพัฒนา ส่งเสริมให้มีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้นและช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ของอาจารย์และนักศึกษาในหลักสูตรได้เป็นอย่างดี โดยอาจารย์และบุคลากรที่จะเข้ามาทำงานเพื่อเป็นฝ่ายสนับสนุนในหลักสูตรจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

การรับอาจารย์ใหม่ใช้หลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยฯ โดยอาจารย์ใหม่จะต้องมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกสาขาการจัดการการบิน หรือสาขาที่เกาะเกี่ยว ที่มีประสบการณ์การบิน
มีความสามารถในการสอน มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความมุ่งหวังในความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการ และมีจริยธรรม คุณธรรม โดยประเมินการสอน และสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการที่คณบดีแต่งตั้งก่อนรับเข้าทำงาน

การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่

  1. จัดการปฐมนิเทศ เพื่อแนะแนวการเป็นครูแก่อาจารย์ใหม่ รวมทั้งการให้ความรู้ ความเข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย บทบาท ความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชา
  2. ชี้แจงปรัชญา วัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรบัญชีบัณฑิต มอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น รายละเอียดหลักสูตร คู่มือการศึกษาและหลักสูตร คู่มืออาจารย์กฎระเบียบต่าง ๆ และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการด้านเทคนิควิธีการสอน การใช้สื่อ การวัดประเมินผล การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิจัยเพื่อพัฒนาการสอน การจัดทำรายละเอียดรายวิชา และแผนการสอน
  4. คณบดีมอบหมายอาจารย์อาวุโสเป็นพี่เลี้ยงเพื่อช่วยเหลือและให้คำแนะนำ และคำปรึกษาเพื่อเรียนรู้และการปรับตัวเองเข้าสู่การเป็นอาจารย์ในคณะ และเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนและการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา
  5. จัดห้องทำงาน สิ่งสนับสนุนและอำนวยความสะดวก รวมทั้งการสร้างสัมพันธภาพอันดีในการทำงานร่วมกันกับคณาจารย์ในสาขาวิชา

พร้อมทั้งมีการพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์และบุคลากร ดังนี้

  1. การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

          1.1 ส่งเสริมอาจารย์ให้เพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมกลยุทธ์และวิธีการสอนเชิงบูรณาการ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวิจัยองค์ความรู้เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

          1.2 ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมฝึกอบรม ศึกษาดูงาน/เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่าง ๆ สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางด้านงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับหน่วยงานภายนอก

          1.3 ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Management) ระหว่างคณาจารย์ด้วยกันเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย

     2.  การพัฒนาทางด้านวิชาการและด้านอื่น ๆ

          2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่สังคมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้ด้านวิชาชีพและคุณธรรม เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สังคม อันจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเครือข่ายกับชุมชน/สังคม และนไองค์ความรู้ที่ได้รับมาต่อยอดบูรณาการสู่การเรียนการสอนและการวิจัย

          2.2 ส่งเสริม สนับสนุนและจูงใจให้คณาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการด้านการควบคุมจราจรทางอากาศที่มีคุณภาพสามารถนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และต่อยอดผลงานดังกล่าวสู่ผลงานวิชาการเพื่อขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น

          2.3 ส่งเสริมสนับสนุนและจูงใจให้อาจารย์พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาต่อในระดับคุณวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพให้มีความเชี่ยวชาญด้านวิชาการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการควบคุมจราจรทางอากาศ (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565) หน้า 35

     3.  การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน

          3.1 จัดอบรมเสริมทักษะการทำงานสมัยใหม่ให้แก่บุคลากรทุกคน

          3.2 จัดอบรมประจำปีเพื่อทบทวน/ประเมินผลการปฏิบัติงาน

          3.3 จัดกลุ่มบุคลากร และกระบวนการเพื่อการจัดการความรู้ข้ามหน่วยงาน

การประเมินการปฏิบัติงาน จะทำการประเมินโดยหัวหน้าสาขาวิชาฯ คณบดี และอธิการบดี ตามลำดับ โดยกำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตลอดอายุการทำงาน เพื่อให้บรรลุปณิธานการประเมินเพื่อการพัฒนา โดยยึดหลัก “ความยุติธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้” และแจ้งผลการประเมินพร้อมข้อปรับปรุงตามที่คณะกรรมได้ให้คำชี้แนะไว้ในใบประเมิน ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

หลักฐาน

  1. แผนพัฒนาบุคลากร
  2. คู่มือบุคลากร
  3. ภาพกิจกรรม KM
  4. โครงการพัฒนาอาจารย์
  5. โครงการบริการทางวิชาการ
  6. วิจัยประจำปี
  7. สัมมนาทางวิชาการ

7.9 The quality of the facilities (library, laboratory, IT, and student services) are shown to be subjected to evaluation and enhancement.

การดำเนินการ

หลักสูตรเปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อการให้บริการด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับ คุณภาพของสิ่งอำนวยความสะดวกภายในมหาวิทยาลัยฯ  ได้แก่ ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ ห้องคอมพิวเตอร์ไอที และการบริการนักศึกษา โดยให่นักศึกษาภายในสาขางิชาฯ  แบบประเมินความพึงพอใจในการให้บริการ แบบประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ พร้อมทั้งให้นักศึกษาได้ให้ข้อเสนอแนะการปรับปรุงในการให้บริการของสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ  โดยหลักสูตรกำหนดเวลาที่นักศึกษาสามารถแสดงความคิดเห็นได้ เช่น ก่อนเปิดภาคเรียน และปลายภาคเรียน และนำข้อเสนอแนะเหล่านั้นมาทำการคัดกรองและดำเนินการตามคำแนะนำของนักศึกษา ซึ่งในปีการศึกษาที่ผ่านมา นักศึกษาได้เสนอแนะให้สาขาวิชาฯ ดำเนินการเปลี่ยนเม้าและหน้าจอคอมพิวเตอร์ใหม่ เนื่องจากของเดิมที่มีอยู่ได้ทรุดโทรมและพังไปตามกาลเวลา ทางสาขาวิชาฯ จึงได้มีการเสนอจัดเปลี่ยนอุปกรณ์ไอทีภายในห้องปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศใหม่ เพื่อให้อุปกรณ์สามารถกลับมาใช้งานได้อย่างประสิทธิดังเดิม

หลักฐาน

  1. แบบประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
  2. เอกสารการซ่อมบำรุง

Evidence

ID_EvidenceName_Evidence
7.1-1ไฟล์หนังสือเพิ่มเติมสำหรับนักศึกษา      
7.1-2วิดีโอสถานที่อำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา
7.1-3ภาพห้องปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศ
7.1-4รายการซ่อมแซมอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการควบคุมจราจรทางอากาศ 
7.2-1ภาพถ่ายอาคารและห้องปฏิบัติการจำลองการควบคุมจราจรทางอากาศ
7.2-2รานงานการขอเบิกอุปกรณ์/การซ่อมบำรุงอุปกรณ์
7.3-1เว็บไซต์ห้องสมุด
7.3-2แผ่นพับห้องสมุด
7.4-1ระบบทะเบียนและระบบการศึกษา
7.4-2ระบบสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS)
7.4-3ระบบ LMS
7.4-4เว็บไซต์มหาวิทยาลัยฯ
7.4-5ระบบเรดาร์
7.6-1การสวมใส่หน้ากากอนามัยระหว่างทำการเรียนการสอน
7.6-2ป้ายประกาศขอความร่วมมือการสวมใส่หมวกนิรภัย
7.7-1รายงานสรุปการจัดกิจกรรม
7.7-2วิดีโอ ภาพกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย
7.8-1แผนพัฒนาบุคลากร
7.8-2คู่มือบุคลากร
7.8-3ภาพกิจกรรม KM
7.8-14โครงการพัฒนาอาจารย์
7.8-5โครงการบริการทางวิชาการ
7.8-6วิจัยประจำปี
7.8-7สัมมนาทางวิชาการ
7.9-1แบบประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
7.9-2เอกสารการซ่อมบำรุง

Self-Assessment

RequirementsResultScore
7.1 The physical resources to deliver the curriculum, including equipment, material, and information technology, are shown to be sufficient./1
7.9 The quality of the facilities are shown to be subjected to evaluation and enhancement./
7.2 The laboratories and equipment are shown to be up-to-date, readily available, and effectively deployed./1
7.3 A digital library is shown to be set-up, in keeping with progress in information and communication technology./
7.4 The information technology systems are shown to be set up to meet the needs of staff and students./
7.5 The university is shown to provide a highly accessible computer and network infrastructure that enables the campus community to fully exploit information technology for teaching, research, service, and administration.
7.6 The environmental, health, and safety standards and access for people with special needs are shown to be defined and implemented./1
7.7 The university is shown to provide a physical, social, and psychological environment that is conducive for education, research, and personal wellbeing./
7.8 The competences of the support staff rendering services related to facilities are shown to be identified and evaluated to ensure that their skills remain relevant to stakeholder needs./1
Overall4

Leave a Reply