ข้อเสนอแนะการดำเนินการ(ปีการศึกษา 2564)

ผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2564

Standard Quality Indicators Assessment Results Assessment Level
Component 1 Regulatory Standards Pass Pass
Component 2 Graduates 4.75 ดีมาก
Component 3 Students 4.33 ดีมาก
Component 4 Instructors 4.48 ดีมาก
Component 5 Curriculum, Learning Management and Learning Support Resources 4.50 ดีมาก
Overall Average Score 4.49 ดีมาก

Note IF Score>4 = “Very Good” , Score>3 = “Good” , Score>2 =”Fair” and Score>=0 = “Need Improve”

       ผลดำเนินการในการประกันคุณภาพภายใน หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) คณะกรรมการพบว่ามีจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในภาพรวมดังนี้
จุดเด่น
1. ผลงานของนักศึกษามีจานวนมาก เป็นที่ยอมรับ และได้รับรางวัลในระดับชาติ

2. ผลงานของอาจารย์เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ
3. หลักสูตรมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ที่ทาให้นักศึกษามีอิสระทางความคิดและสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง

4. นวัตกรรมทางวิชาการของอาจารย์มีส่วนช่วยในการเรียนการสอนสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์สถาบันแก่สังคม
จุดควรพัฒนา
1. ควรปรับกลยุทธ์ในการส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
2. ควรปรับกลยุทธ์ในการดูแลนักศึกษาให้มีอัตราการลาออกน้อยลง

การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามรายมาตรฐาน

       การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2564 ของหลักสูตรนิเทศศาตรบัณฑิต สาขาวิชาสื่อดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ตามมาตรฐานของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา (STIC-QA) พ.ศ. 2561 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีดังนี้
มาตรฐานที่ 1 : ด้านการกำกับมาตรฐาน
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

มาตรฐานที่ 2 : ด้านบัณฑิต
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. บัณฑิตที่จบการศึกษามีงานทาภายใน 1 ปี ร้อยละ 100

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

มาตรฐานที่ 3 : ด้านนักศึกษา
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. มีระบบและกระบวนการในการให้คาปรึกษาที่สามารถจาแนกนักศึกษาเป็น

กลุ่มต่างๆ 5 กลุ่ม เพื่อดาเนินการให้คาปรึกษาและช่วยเหลือนักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

2. มีการปรับกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ในการรับนักศึกษา ตลอดปีการศึกษา 2564 จนเกิดเป็นผลในปีการศึกษา 2565 อย่างเป็นรูปธรรมที่จานวนนักศึกษาใหม่เพิ่มขึ้น

3. ผลงานของนักศึกษามีจานวนมาก เป็นที่ยอมรับ และได้รับรางวัลในระดับชาติ

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
1. ควรปรับกลยุทธ์ในการดูแลนักศึกษาให้มีอัตราการลาออกน้อยลง

มาตรฐานที่ 4 : ด้านอาจารย์
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. หลักสูตรมีการวางแผนเตรียมบุคลากรเพื่อรองรับความเสี่ยง ในกรณีที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรลาออกในระหว่างปีการศึกษา เพื่อให้การบริหารอาจารย์เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

2. ผลงานของอาจารย์เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

3. นวัตกรรมทางวิชาการของอาจารย์มีส่วนช่วยในการเรียนการสอนสร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์สถาบันแก่สังคม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

1. ควรปรับกลยุทธ์ในการส่งเสริมการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ

2. ควรส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกมากขึ้น

มาตรฐานที่ 5 : ด้านหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. หลักสูตรมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ที่ทาให้นักศึกษามีอิสระทางความคิดและสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง

2. หลักสูตรมีการวางแผนนารายวิชาต่างๆมาบูรณาการกับโครงการต่างๆจานวนมาก และส่งผลให้เกิดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาอย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

Leave a Reply