ข้อเสนอแนะการดำเนินการ(ปีการศึกษา 2564)

ผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2564

StandardQuality IndicatorsAssessment ResultsAssessment Level
Component 1Learner Outcome4.39 ดีมาก
Component 2Research and Innovation5ดีมาก
Component 3Academic Services5ดีมาก
Component 4Arts and Culture and Thainess5ดีมาก
Component 5Administration and Management5ดีมาก
Overall Average Score4.78ดีมาก

Note IF Score>4 = “Very Good” , Score>3 = “Good” , Score>2 =”Fair” and Score>=0 = “Need Improve”

       ผลดำเนินการในการประกันคุณภาพภายใน ระดับคณะวิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะกรรมการพบว่ามีจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในภาพรวมดังนี้
จุดเด่น
1.  มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศที่เอื้อประโยชน์ให้กับนักศึกษา และได้รับปริญญาบัตรจากสถาบันดังกล่าวด้วย
2. มีการปรับแผนกลยุทธ์การรับนักศึกษากับฝ่ายการตลาดของวิทยาลัยที่ดีและรวดเร็ว ทาให้การรับนักศึกษาปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์
3. หลักสูตรของคณะมีการพัฒนาและส่งผลให้เกิดคุณภาพที่สูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพในปีที่ผ่านมา
4. คณะมีการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการเรียนรู้และสร้างผลงานเป็นจานวนมาก ส่งผลให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษาในการประกอบอาชีพ
5. คณะมีโครงการการบริการวิชาการที่ส่งผลให้เกิดความเข้มแข็งกับชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
6. คณะเน้นการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและการทางานเป็นทีมที่ส่งผลให้การบริหารจัดการองค์กรและคุณภาพการศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
7. คณะให้ความสำคัญกับศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยมีการดาเนินการและสร้างสื่อประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
8. คณะมีศักยภาพในการรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภายนอกอย่างต่อเนื่อง
9. คณะมีระบบการพัฒนาและส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาทาให้ได้รับคะแนนสูงขึ้น

จุดควรพัฒนา
1. ส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการให้มากขึ้น
2. ส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์ดาเนินการทาวิจัยให้มากขึ้น
3. หลักสูตรควรมีการวางแผนทาบริการวิชาการร่วมกันระหว่างหลักสูตรให้มากขึ้น
4. ควรมีการวิเคราะห์ SWOT Analysis โดยเฉพาะในเรื่องโอกาสและอุปสรรคจากภายนอกเพื่อวางแผนการพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป

การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามรายมาตรฐาน

       การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2564 ของคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตามมาตรฐานของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา (STIC-QA) พ.ศ. 2561 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีดังนี้
มาตรฐานที่ 1 : ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม
1. มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาต่างประเทศที่เอื้อประโยชน์ให้กับนักศึกษา และได้รับปริญญาบัตรจากสถาบันดังกล่าวด้วย
2. มีการปรับแผนกลยุทธ์การรับนักศึกษากับฝ่ายการตลาดของวิทยาลัยที่ดีและรวดเร็ว ทาให้การรับนักศึกษาปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์
3. หลักสูตรของคณะมีการพัฒนาและส่งผลให้เกิดคุณภาพที่สูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพในปีที่ผ่านมา
4. คณะมีการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการเรียนรู้และสร้างผลงานเป็นจานวนมาก ส่งผลให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษาในการประกอบอาชีพ
5. คณะมีระบบการพัฒนาและส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาทาให้ได้รับคะแนนสูงขึ้น
6. มีกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะกิจกรรมการหางานทาและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
7. การเยี่ยมชมการดาเนินงานสถานีวิทยุโทรทัศน์ เพื่อให้นักศึกษาได้มีการเรียนรู้และประสบการณ์จากสถานที่จริงผ่านระบบ Streaming

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
1. ส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการให้มากขึ้น

มาตรฐานที่ 2  : ด้านการวิจัยและนวัตกรรม
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. คณะมีศักยภาพในการรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากภายนอกอย่างต่อเนื่อง
2. ผลงานวิจัยของคณาจารย์ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

1. ส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์ดาเนินการทาวิจัยให้มากขึ้น

มาตรฐานที่ 3  : ด้านการบริการวิชาการ
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. คณะมีโครงการการบริการวิชาการที่ส่งผลให้เกิดความเข้มแข็งกับชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
2. คณะมีการวางแผนและดำเนินงานภายใต้สถานการณ์โควิดอย่างเหมาะสมและได้ผลดี เช่น การเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เสมือนจริง และมีการจัดทาและเผยแพร่ภาพยนตร์สั้น

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

1. หลักสูตรควรมีการวางแผนทาบริการวิชาการร่วมกันระหว่างหลักสูตรให้มากขึ้น

มาตรฐานที่ 4  : ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. คณะให้ความสำคัญกับศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยมีการดาเนินการและสร้างสื่อประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
2. มีการจัดทาและเผยแพร่หนังสือการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในองค์กร (Workplace Trends and Corporate Culture Change) ที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา บุคลากรและบุคคลทั่วไป

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

มาตรฐานที่ 5  : ด้านการบริหารจัดการ
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

1. คณะเน้นการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและการทางานเป็นทีมที่ส่งผลให้การบริหารจัดการองค์กรและคุณภาพการศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

1. ควรมีการวิเคราะห์ SWOT Analysis โดยเฉพาะในเรื่องโอกาสและอุปสรรคจากภายนอกเพื่อวางแผนการพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป