องค์ประกอบที่ 2 ผลลัพธ์การเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1  ผลลัพธ์การเรียนรู้ (ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. กำหนดและสื่อสาร ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

หลักสูตรพัฒนาโดยคณะกรรมปรับปรุงหลักสูตร มีการแบ่งเป็นกลุ่มวิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาบังคับ กลุ่มวิชาเลือก กลุ่มวิชาสหกิจศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับ

วัตถุประสงค์และปรัชญาของหลักสูตร และเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของ สกอ. โดยกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ด้วยการให้ผู้ส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการพัฒนาหลักสูตร และมีการทบทวนกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกครั้งผ่านการวิพากษ์หลักสูตร ซึ่งกระบวนการดังกล่าวได้ดำเนินการแล้วเมื่อครั้งการปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. 2562 หลังจากที่หลักสูตรได้รับการพิจารณาเห็นชอบจาก สป.อว. แล้ว ได้มีการสื่อสารให้กับอาจารย์ทราบผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และระบบ MIS และนักศึกษาทราบผ่านคู่มือนักศึกษาใหม่และผ่านระบบ MIS อีกทั้งยังมีสื่อสารให้กับผู้ใจทั่วไปทราบผ่านช่องทางเว็บไซต์ของวิทยาลัยอีกด้วย 

หลักสูตรกำหนดให้รายวิชาต่างๆที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอนทั้งในภาคเรียนต้นและภาคเรียนปลาย ให้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา และการพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน  (TQF 2 หมวดที่ 4) ซึ่งแต่ละรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนนั้นได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดและประเมินผลอย่างละเอียดและแสดงใน มคอ.3 ทุกรายวิชา

The​ Program​ was developed by a program revision committee. The course structure consists of 1. general education course category, 2. specialized course category, 3. required course category, 4. required elective course category 5. Coopertive Education, and 6. free elective course category. This is in line with OHEC standard criteria. 

Program expected outcomes were formulated following Faculty and College mission and vision, and are communicated by MIS, students Handbook and College website.

Learning​ and ​teaching management of courses was aligned with student special characteristics development and learning outcomes of the four aspects are written on (TQF 2). 

 

หลักฐาน :

2.1.1.1 มคอ. 2 

2.1.1.2 ระบบ MIS แสดงข้อมูลหลักสูตร

2.1.1.3 เว็บไซต์วิทยาลัยแสดงข้อมูลหลักสูตร

2.1.1.4 คู่มือนักศึกษาใหม่

2.1.1.5 มคอ.3

 

2. ออกแบบผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้

          หลักสูตรออกแบบผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีการจัดทำ curriculum mapping ใน มคอ.2 ของทุกรายวิชาเพื่อแสดงผลที่คาดหวังว่าจะได้รับจากการเรียนในแต่ละรายวิชา (รายละเอียดใน TQF 2) 

          The​ ​Program​ set up expected learning outcome consisting of 5 aspects: moral and ethics, knowledge, skills, interpersonal skills, and analytical thinking. Communication and use of information technology was done by curriculum mapping in TQF2 of each course, showing expected outcome of each course (for details, see TQF2). 

หลักฐาน :

2.1.2.1 มคอ. 2 

2.1.2.2 มคอ.3

2.1.2.3 Curriculum Mapping

3. ระบุผลลัพธ์การเรียนรู้ทั่วไป และผลลัพธ์การเรียนรู้เฉพาะทาง

          หลักสูตรได้จัดทำ curriculum mapping ใน มคอ.2 ของทุกรายวิชาเพื่อแสดงผลที่คาดหวังว่าจะได้รับจากการเรียนในแต่ละรายวิชา (รายละเอียดใน TQF 2)

          The Program has encoded curriculum mapping in TQF2 of each course showing expected learning outcomes of each course (for details, see TQF2). 

           ทั้งผลลัพธ์การเรียนรู้ทั่วไป และผลลัพธ์การเรียนรู้เาะทาง มีการกำหนดแนวทางการประเมินผลความสำเร็จตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยแต่ละวิชาจะมีการระบุผลลัพธ์การเรียนอย่างชัดเจน 

          Evaluation​ of results according to learning outcomes of the learner was set in the learning management for both​ general ​learning outcomes and specific learning outcomes. Each course specified clearly the learning outcomes. 

หลักฐาน :

2.1.3.1 มคอ 2 

2.1.3.2 มคอ.3

 

4. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

          หลักสูตรได้ดำเนินการวัดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังว่าบรรลุตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (นักศึกษา) โดยวัดผลการการประเมินผลลัพธ์การเรียนทั้ง 4 ด้าน ของนักศึกษาทุกรายชั้นปี (ชั้นปีที่ 1-4) มีค่าเฉลี่ย ดังนี้

          The​ Program​ evaluated expected learning outcomes of stakeholders (Students) of the 4 aspects of students of each year level. Averages are presented in the Table. 

ผลลัพธ์การเรียนทั้ง 5 ด้าน

Five​ ​aspects of learning outcomes 

ผลการประเมิน

Results​

ชั้นปีที่ 1

Year 1

ชั้นปีที่ 2

Year 2

ชั้นปีที่​ 3

Year 3

ชั้นปีที่4

Year 4

1. ด้านความรู้​ (Knowledge)​

4.30

3.65 3.79

3.94

2. ด้านทักษะ​ (Skills)​

4.20

3.68 3.83

3.94

3. ด้านจริยธรรม​ (Ethics)​

4.40

3.95 3.81

4.03

4. ด้านลักษณะบุคคล​ (Personal​ characteristics) 

4.40

3.84 3.81

4.14

ค่าเฉลี่ย

4.33

3.78 3.81

4.01

          นอกจากนี้หลักสูตรยังได้มีการวัดผลการเรียนที่คาดหวังว่าบรรลุตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ผู้ใช้บัณฑิต) โดยวัดผลการการประเมินผลลัพธ์การเรียนทั้ง 5 ด้าน ของบัณฑิตที่ทำงานในสถานประกอบการ มีค่าเฉลี่ย ดังนี้

           In​ addition, the program evaluated expected learning outcomes of graduate users from 5 aspects of graduates. Details are shown in the Table. 

ผลลัพธ์การเรียนทั้ง 5 ด้าน

Learning​ results 

ผลการประเมิน

1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม​ (moral and​ social ethics) ​​ ​

4.94

2. ด้านความรู้​ (knowledge)​

4.49

3. ด้านทักษะทางปัญญา​ (Skills)​

4.60

4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ​ (interpersonal relationships and responsibilities) 

4.80

5. ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

(Analytical thinking of information technology) 

4.60

ค่าเฉลี่ย

(Average)​

4.69

หลักฐาน :

2.1.4.1 ผลการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน

2.1.4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

 

5. ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง บรรลุผลกับผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา

หลักสูตรดำเนินการวัดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา โดยการสอบถามจากผู้ใช้บัณฑิต ผ่านแบบประเมิน “ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต” ผลการดำเนินการพบว่า

– ผู้ใช้บัณฑิตตอบแบสอบถามกลับคืนมา ร้อยละ 33.33

ผลการวิเคราะห์แบบสอบถาม พบว่า

– ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในภาพรวม ที่คะแนนเฉลี่ย 4.69 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าแต่ละด้านมีค่าเฉลี่ยดังนี้

ผลลัพธ์การเรียนทั้ง 5 ด้าน ผลการประเมิน
1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 4.94
2. ด้านความรู้ 4.49
3. ด้านทักษะทางปัญญา 4.60
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.80
5. ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 4.60
ค่าเฉลี่ย 4.69

 

หลักฐาน :

2.1.5.1 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ปีการศึกษา 2565

6. ผลการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ ทักษะ จริยธรรม และลักษณะบุคคล ของนักศึกษา(กลุ่มตัวอย่างทุกชั้นปี) สูงกว่า 3.51

หลักสูตรนำผลการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน 5 ด้านตามหลักสูตรของนักศึกษาทุกชั้นปี มาทำการแปลงค่าให้เป็น 4 ด้าน ได้ผลดารดำเนินการ ดังนี้

ผลลัพธ์การเรียนทั้ง 4 ด้าน ผลการประเมิน
ความรู้ 3.92
ทักษะ 3.91
จริยธรรม 4.05
ลักษณะบุคคลของนักศึกษา 4.05
ค่าเฉลี่ย 3.98

 

หลักฐาน :

2.1.6.1 ผลการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน ปีการศึกษา 2565

7. ผลการประเมินผลการเรียนรู้เฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน สูงกว่า 3.51

หลักสูตรนำผลการประเมินผลการเรียนรู้ 5 ดานตามหลักสูตรของนักศึกษาทุกชั้นปี มาทำการแปลงค่าให้เป็น 4 ด้าน ได้ผลการดำเนินการ ดังนี้ 

ผลลัพธ์การเรียนทั้ง 4 ด้าน ผลการประเมิน
ความรู้ 3.92
ทักษะ 3.91
จริยธรรม 4.05
ลักษณะบุคคลของนักศึกษา 4.05
ค่าเฉลี่ย 3.98

ผลการนดำเนินการพบว่า การประเมินผลการเรียนรู้เฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน สูงกว่า 3.51

 

หลักฐาน :

2.1.7.1 ผลการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน ปีการศึกษา 2565

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
….5ข้อ…. IQA(1-7) 1,2,3,6,7 ….5…ข้อ …4..คะแนน
AUN-QA(1-5) 2,3 ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
2.1.1 2.1.1.1 มคอ. 2 

2.1.1.2 ระบบ MIS แสดงข้อมูลหลักสูตร

2.1.1.3 เว็บไซต์วิทยาลัยแสดงข้อมูลหลักสูตร

2.1.1.4 คู่มือนักศึกษาใหม่

2.1.1.5 มคอ.3

2.1.2 2.1.2.1 มคอ. 2 

2.1.2.2 มคอ.3

2.1.2.3 Curriculum Mapping

2.1.3 2.1.3.1 มคอ 2 

2.1.3.2 มคอ.3

2.1.4 2.1.4.1 ผลการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน

2.1.4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

2.1.5 2.1.5.1 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ปีการศึกษา 2565
2.1.6 2.1.6.1 ผลการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน ปีการศึกษา 2565
2.1.7 2.1.7.1 ผลการประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน ปีการศึกษา 2565

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเอง IQA AUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 …4… …3…

Leave a Reply