องค์ประกอบที่ 9 ผลผลิตและผลลัพธ์

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ผลการจัดการศึกษา (ผลผลิตและผลลัพธ์)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

หลักสูตรมีระบบการติดตามนักศึกษาที่ศึกษาในหลักสูตรเพื่อให้นักศึกษาได้สำเร็จการศึกษาภายในเวลาที่กำหนด โดยผ่านระบบอาจารย์ที่ปรึกษา มีการพิจารณาแนวทางส่งเสริมสนับสนุนหรือช่วยเหลือนักศึกษาให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาในกำหนดเวลา หรือช่วยแก้ไขปัญหาให้นักศึกษาเพื่อไม่ให้นักศึกษาลาออกกลางคัน หลักสูตรรวบรวมข้อมูลและนำมาวิเคราะห์ พบว่า ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนใน 3 

ปีย้อนหลัง จำนวนนักศึกษาออกกลางคันเมื่อเทียบกับจำนวนรับ พบว่า มีอัตราการออกกลางคันค่อนข้างสูง โดยเฉพาะนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ทั้งนี้ทางหลักสูตรได้ทำการวิเคราะห์สาเหตุ ดังนี้ 

  1. นักศึกษาย้ายหรือลาออก เนื่องจากไม่มีความถนัดในสาขาวิชา
  2. นักศึกษาพ้นสภาพจากผลการเรียน ซึ่งมีสาเหตุมาจากนักศึกษามีพื้นฐานความรู้ไม่เพียงพอ จึงดำเนินการแก้ปัญหาด้วยการเพิ่มความเข้มข้นใน​การ​ให้คำปรึกษา​

The​ Program​ sets up an academic advisory system to ensure that students will be with the program for four years. However, the drop out rate of first-year students is rather high. The reasons may be

1 Students lack aptitude in the study. 

  1. Students lack sufficient knowledge background. 

Bearing this in mind, the program concentrates even more on academic advisory system. 

 

หลักฐาน 9.1.1.1 อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา

9.1.1.2 ระบบกำกับติดตาม อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

2. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการอิสระ และการศึกษาต่อของผู้เรียน

หลักสูตรมีระบบการติดตามและจัดเก็บข้อมูลของนักศึกษาที่สำเร็จการ และได้ดำเนินการติดตามความก้าวหน้าหลักสำเร็จการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงการมีงานทำ และเพื่อการสอบถามคุณภาพของบัณฑิตจากผู้ประกอบการ และนำผลไปรายงานฝ่ายที่เกี่ยวข้องของวิทยาลัยต่อไป

The​ Program​ has a follow up system on information of graduates and their progress after graduation, in order to know their present job status and graduate users opinion on graduates performance. Results are of value for program improvement.

 

หลักฐาน 9.1.2.1 ระบบการติดตามข้อมูลภาวะการมีงานทำ

9.1.2.2 ข้อมูลภาวะการมีงานทำย้อนหลัง 4 ปี

3. มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุง เกี่ยวกับการวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน

หลักสูตรมีระบบการติดตามด้านการวิจัยและการสร้างนวัตกรรมของอาจารย์ตั้งแต่ก่อนเปิดปีการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงความต้องการในการทำวิจัยและนวัตกรรมของอาจารย์ มีการกำหนดในแผนการพัฒนาบุคลากร พ.ศ. 2565-2569 รวมถึงมีการสนับสนุนและส่งเสริมในการใช้งบประมาณจากแหล่งทุนต่างๆ และมีการติดตามความก้าวหน้าการทำวิจัยเป็นระยะๆ เพื่อให้ทราบผลก่อนสิ้นสุดปีการศึกษา

The​ ​Program​ has a follow up system on instructors research and innovation before beginning of the new academic year so as to know instructors need of research and innovation in the development plan 2565-2569, including research and publication support grants, and follow up on progress till end of the academic year. 

 

หลักฐาน 9.1.3.1 แผนการพัฒนาบุคลากร พ.ศ. 2565-2569

4. มีระบบกำกับติดตามข้อมูล ที่แสดงความสำเร็จของหลักสูตรตามเป้าหมายที่กำหนด

หลักสูตรมีการติดตามข้อมูลการดำเนินงานในด้านต่างๆของหลักสูตร เช่น ผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) มาทำการวิเคราะห์สรุปผลสำเร็จ และนำเสนอตามขั้นตอน เพื่อมาใช้ในการปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป

The​ ​Program​ follows up it’s management like results of plan implementation and SAR. They are analyzed for program improvement in the future. 

หลักฐาน 9.1.4.1 ผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565

                9.1.4.2 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2564

5. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ในช่วงก่อนสิ้นปีการศึกษา ทางหลักสูตรมีการประเมินความพึงพอใจของภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรทั้งในส่วนของอาจารย์ นักศึกษา บัณฑิต ผู้ประกอบการที่รับนักศึกษาเข้าฝึกงาน และผู้ใช้บัณฑิต เพื่อนำผลมาวิเคราะห์และปรับปรุงหลักสูตรต่อไป 

Before end of each academic year, the program has a program evaluation by all parties concerned, namely instructors, students, graduates, mentors of intern students and graduate users. Results are analyzed for program improvement.

 

หลักฐาน 9.1.5.1 ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์

                 9.1.5.2 ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตร

                 9.1.5.3 ผลประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

                 9.1.5.4 ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอน (จากระบบ MIS)

6. มีผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ/การทำประโยชน์ให้ท้องถิ่นและสังคม

หลักสูตรกำหนดให้มีแผนการบริการวิชาการเป็นประจำทุกปีในรูปแบบการให้บริการวิชาการต่างๆ มีการประสานงานกับชุมชน การทำกิจกรรม และมีการติดตามผลเป็นระยะ เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนนั้นสำเร็จตามแผนและวัตถุประสงค์ ตลอดจนมีการประเมินผลภายหลักการให้บริการวิชาการที่ส่งผลถึงการพัฒนาท้องถิ่น/ชุมชนที่ให้บริการ

Each academic year, the program sets a plan of academic service to community, followed by implementation and evaluation.

 

หลักฐาน 9.1.6.1 โครงการบริการวิชาการ (HS 27)

                               รายงานการดำเนินการโครงการบริการวิชาการ (HS 27)

                               หลักฐานประกอบโครงการบริการวิชาการ (HS 27)

                9.1.6.2 โครงการ Academic Camp (HS 21)

                              รายงานการดำเนินการโครงการ Academic Camp (HS 21)

                              หลักฐานประกอบโครงการ Academic Camp (HS 21)

                 9.1.6.3 โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

                               รายงานการดำเนินการโครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

                               หลักฐานประกอบโครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

7. มีผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

หลักสูตรมีการกำหนดแผนการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นประจำทุกปี มีการวางแผน การทำกิจกรรม และการประเมินผลหลังทำกิจกรรม เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาและบุคลากรเกิดการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมผ่านการทำกิจกรรมต่างๆ

Each academic year, the program organizes art and culture promotion activities for students and personnel. They are put into the plan, implemented and evaluated.

 

หลักฐาน 9.1.7.1 กิจกรรม Welcome Trip (อยุธยา)

                9.1.7.2 โครงการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ (HS 32)

                            รายงานผลการดำเนินการโครงการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ (HS 32)

                            หลักฐานประกอบโครงการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ (HS 32)

                9.1.7.3 โครงการ “International Day 2022” (HS 35)

                             รายงานผลการดำเนินการโครงการ “International Day 2022” (HS 35)

                             หลักฐานประกอบโครงการ “International Day 2022” (HS 35)

                9.1.7.4 โครงการ Cultural and Traditional Heritage Preservation 2022 (HS 36) 

                              รายงานผลการดำเนินการโครงการ Cultural and Traditional Heritage Preservation 2022 (HS 36) 

                              หลักฐานประกอบโครงการ Cultural and Traditional Heritage Preservation 2022 (HS 36) 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
…5 ข้อ… IQA(1-7) 1,2,3,5,6,7 ….6…ข้อ …4..คะแนน
AUN-QA(1-5) 1,2,3,7 ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.1.1 9.1.1.1 อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา

9.1.1.2 ระบบกำกับติดตาม อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

9.1.2 9.1.2.1 ระบบการติดตามข้อมูลภาวะการมีงานทำ

9.1.2.2 ข้อมูลภาวะการมีงานทำย้อนหลัง 4 ปี

9.1.3 9.1.3.1 แผนการพัฒนาบุคลากร พ.ศ. 2565-2569
9.1.4 9.1.4.1 ผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2565

9.1.4.2 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2564

9.1.5 9.1.5.1 ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์

9.1.5.2 ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตร

9.1.5.3 ผลประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

9.1.5.4 ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนการสอน (จากระบบ MIS)

9.1.6 9.1.6.1 โครงการบริการวิชาการ (HS 27)

              รายงานการดำเนินการโครงการบริการวิชาการ (HS 27)

               หลักฐานประกอบโครงการบริการวิชาการ (HS 27)

9.1.6.2 โครงการ Academic Camp (HS 21)

               รายงานการดำเนินการโครงการ Academic Camp (HS 21)

                หลักฐานประกอบโครงการ Academic Camp (HS 21)

9.1.6.3 โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

               รายงานการดำเนินการโครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

                หลักฐานประกอบโครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

9.1.7 9.1.7.1 กิจกรรม Welcome Trip (อยุธยา)

9.1.7.2 โครงการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ (HS 32)

              รายงานผลการดำเนินการโครงการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ (HS 32)

               หลักฐานประกอบโครงการเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ (HS 32)

9.1.7.3 โครงการ “International Day 2022” (HS 35)

               รายงานผลการดำเนินการโครงการ “International Day 2022” (HS 35)

                หลักฐานประกอบโครงการ “International Day 2022” (HS 35)

9.1.7.4 โครงการ Cultural and Traditional Heritage Preservation 2022 (HS 36) 

               รายงานผลการดำเนินการโครงการ Cultural and Traditional Heritage Preservation 2022 (HS 36) 

               หลักฐานประกอบโครงการ Cultural and Traditional Heritage Preservation 2022 (HS 36) 

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 คุณภาพบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต เท่ากับ 4.69 ผู้ตอบร้อยละ….33.33… ….4.69.คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.2.1.1 ผลการประเมินความพึงพอใจจากผู้ใช้บัณฑิต

ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 การมีงานทำ/ผลงานวิจัยตีพิมพ์ของบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

การได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

  1. ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ = (จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ/จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทั้งหมด) *100
  2. คะแนนที่ได้ = (ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ/100) *5

การมีงานทำ (ปริญญาตรี) ร้อยละ 100 (5 คะแนน)

  1. Calculate the Percentage of Bachelor graduates who are employed or self-employed within 1 year according to the following formula :

= (Number of Bachelor graduates who are employed or self-employed within 1 year/ Total Number of Graduate Survey Respondents) X 100

= (23/23)X 100

= 100

  1. Convert the percentage calculated in item 1 to a comparable score on a 5-point scale :  Score 

= ( Percentage of Bachelor graduates who are employed or self-employed within 1 year/100) X 5

= (100/100) X 5

= 5

 

ตารางแสดงการได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

รายการ จำนวน
1. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด 23
2. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา 23
3. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ) 20
4. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ 2
5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา
6. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา
7. เงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ (ค่าเฉลี่ย) 21,195
8. ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) 4.69
9. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว
10. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท 1
11. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) ปริญญาตรี จำนวนผู้มีงานทำใน 1 ปี/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ร้อยละ…100… …5..คะแนน
ปริญญาโท/เอก ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ร้อยละ…-… …-..คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.3.1.1 ข้อมูลการมีงานทำของบัณฑิต ปีการศึกษา 2565

 

 

 

 

 

 

 

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเอง IQA AUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 …4… …3…
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 …4.69…
ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 …5…
คะแนนเฉลี่ย …4.56…

Leave a Reply