องค์ประกอบที่ 9 ผลผลิตและผลลัพธ์

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ผลการจัดการศึกษา (ผลผลิตและผลลัพธ์)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

หลักสูตรฯได้มีการเก็บข้อมูลอัตราการรับเข้า อัตราการออกกลางคัน และเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา เพื่อทำการปรังปรุงระบบการช่วยเหลือนักศึกษาของหลักสูตรฯ ดังแสดงใน ตารางที่ 9.1 แสดงจำนวนนักศึกษาที่รับเข้า และสำเร็จการศึกษา (4 ปีย้อนหลัง)

 

ตารางที่ 9.1 แสดงจำนวนนักศึกษาที่รับเข้า และสำเร็จการศึกษา (4 ปีย้อนหลัง)

 

ปีการศึกษา             ที่เข้ารับ ผู้สมัคร ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษา เข้าศึกษาจริง ไม่มารายงานตัว/ลาออก กำลังศึกษา สำเร็จการศึกษา ร้อยละอัตราการคงอยู่
2559  ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล 13 7 6 46.15
2560 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล 21 13 7 33.33
2561 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล 36 20 16 44.44
2562 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล 21 10 12 57.14
2563 38 35 21 17 4 19.05
2564 10 7 7 3 4 57.14
2565 39 16 10 5 6 35.26

 

จากการวิเคราะห์ข้อมูล จากตารางที่ 9.1 พบว่า

(1) อัตราการออกกลางคัน พบว่า อัตราร้อยละการคงอยู่ของนักศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ ทางหลักสูตรได้ศึกษาข้อมูล พบว่า ผู้สมัครที่ไม่ศึกษาต่อ สาเหตุเนื่องจาก ส่วนมากมีปัญหาครอบครัวและปัญหาทางด้านการเงิน ในขณะที่นักศึกษาอีกจำนวนหนึ่งมีทักษะภาษาอังกฤษในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ส่งผลให้มีปัญหาด้านการปรับตัวในการเรียนการสอนที่ใช้ภาษาอังกฤษ ส่งผลให้เกรดเฉลี่ยต่ำกว่า 1.5 ซึ่งน้อยกว่าเกณฑ์กำหนดที่สามารถเรียนต่อได้ ตามระเบียบของวิทยาลัย 

หลักสูตรจึงได้วางแผนดําเนินการเชิงรุกในปีการศึกษาหน้า โดย

  • พัฒนาในด้านการให้คำปรึกษาปัญหาส่วนตัวและปัญหาด้านการเงินรายบุคคลถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาและมีนโยบายการติดตามผลหากเกิดปัญหาและมีการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องโดยมีการใช้รายวิชา Adviser ในการให้คำปรึกษานักศึกษาโดยนักศึกษาสามารถใช้ช่วงเวลานี้ในการปรึกษาเพื่อหาทางแก้ไขหากมีปัญหาซึ่งจะนำไปสู่การออกกลางคัน
  • สาขาวิชาสื่อดิจิทัล ร่วมกับ ฝ่ายทะเบียนของวิทยาลัย ได้แต่งตั้งอาจารย์ในสาขาสื่อดิจิทัล เพื่อเป็นที่ปรึกษาให้นักศึกษาชั้นปีที่ 1 โดยเพิ่มช่องทางการที่หลากหลายในการช่วยเหลือนักศึกษา ปรับตัวให้เข้ากับระบบรูปแบบการเรียนการสอนใหม่ รวมทั้งแนะนำการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเช่นการติดต่อสื่อสารผ่านทาง Line กลุ่มโดยมีการจัดตั้ง Line กลุ่มเพื่อให้นักศึกษาในรุ่นได้มีการแลกเปลี่ยนพูดคุยกันและได้ทำความรู้จักกับเพื่อนและอาจารย์มากยิ่งขึ้นเพื่อเป็นการสอดส่องดูแลปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับนักศึกษาและแก้ไขปัญหาได้อย่างทันที หลังจากนั้นได้มีระบบติดตามผลการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นผ่านการให้คำปรึกษา

(2) อัตราการจบการศึกษา พบว่า ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรมีนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา จำนวน 12 คน จากนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายทั้งหมด จำนวน 12 คน (Evidence 9.1.1) เมื่อคำนวณร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา พบว่า ร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา คือ ร้อยละ 100

(3) เวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา พบว่า ในปีการศึกษา 2565 นักศึกษา 11 คน ใช้เวลา 4 ปี ในการสำเร็จการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 91.67 และ 1 คน ใช้เวลา 6 ปี ในการสำเร็จการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 8.33 โดยนักศึกษาที่ใช้เวลา 6 ปี ได้พักการศึกษาไป 2 ปีเพื่อเกณฑ์ทหาร

 หลักฐาน

9.1

9.1.1 จำนวนนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนในแต่ละชั้นปี
9.1.2 จำนวนนิสิตที่ลงทะเบียนขอสำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565

 

 

2. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการอิสระ และการศึกษาต่อของผู้เรียน

อัตราการได้งานทำ

ในปีการศึกษา 2564 มีบัณฑิตปริญญาตรีจากหลักสูตร ทั้งหมด 16 คน (Evidence 9.2.1) จากการรวบรวมข้อมูลการทำงาน พบว่า บัณฑิตปริญญาตรีทำงานประจำ 9 คน ทำงานอิสระ 3 คน ว่างงาน 4 คน (Evidence 9.2.2)

เมื่อคำนวณร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ           ภายในระยะเวลา 1 ปี พบว่า ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำ คือ ร้อยละ 75

 

การตรวจสอบและเกณฑ์มาตรฐานในการพัฒนา

หลักสูตรฯได้มีการวางแผนสำรวจภาวะการมีงานทำ ผ่านโครงการติดตามผลบัณฑิต (Evidence 9.2.3) โดยได้มีการดำเนินการเก็บข้อมูลเพื่อนำข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ผล เพื่อใช้ในการพัฒนาหลักสูตรฯต่อไป โดยเก็บข้อมูล ดังต่อไปนี้

  • ภาวะการมีงานทำของบัณฑิต
  • สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา (ซึ่งจะแสดงผลอย่างละเอียดในข้อ 5 ในลำดับต่อไป)

ผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต 

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต = 4.48 

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ (KPI เชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
คะแนนเฉลี่ย

 = 3.51

IQA (1) คะแนนเฉลี่ยการประเมินผู้ใช้บัณฑิต = 4.48 ผู้ตอบร้อยละ 22.22
AUN-QA (ไม่มี) ไม่มี ระดับ ไม่มี

 

หลักฐาน

9.2

9.2.1 รายชื่อบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ปี 2564 จากระบบ MIS
9.2.2 สถานที่ทำงานของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ปี 2564
9.2.3 โครงการติดตามผลบัณฑิต

 

 

 

3. มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุง เกี่ยวกับการวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน

ผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษา

ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯมีผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษา ที่เป็นผลงานเชิงประจักษ์ และเป็นผลงานที่แสดงถึงการมีผลลัพธ์ผู้เรียน จำนวน XX ชิ้นงาน ดังแสดงใน ตารางที่ 9.2 แสดงผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565

 

ตารางที่ 9.2 แสดงผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565

กลุ่มการเรียนรู้ ผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษา  Evidence
กลุ่มภาพยนตร์ Loop https://youtu.be/EIaic7e4Wds
Subconciouse https://youtu.be/MmZJ9RMoIv8
MV ช่วงเวลา – Zweed n’ Rol https://youtu.be/LRDoJABJD18
หนังสั้น ปี 3 Timeless
หนังสั้น ปี 3 Time-Up
หนังสั้น ปี 3 Sleep Well
หนังสั้น ปี 3 Knock
กลุ่มโฆษณา STIC Cap Advertising https://youtu.be/TamF9X1P4ww
STIC Football Short Poster https://drive.google.com/drive/folders/1cp9pCkHd5h6Q7B7oI5ubFIE3TpYISa-KY_QAewHeLEfgwCVSZjCPpEhxj8F_a8sEjbwknhPS?usp=drive_link
CA Showcase Radio Advertising https://drive.google.com/drive/folders/1UfTxRCxsou5BvE4x_CPGqJA_CnVPEcD9DYxOUotltN-jlR-HWL98RG-dPyNdR3fswalABfim?usp=drive_link
Packshot product: Can Advertising  https://drive.google.com/drive/folders/1zNbkF362BoAKKdW0pQCI8Vv6dBd3ZrIfK7tFm10r495bQLIzmp8UDjf0yLTnWGsZpSwBpTCN?usp=drive_link
AR Poster หนังเรื่อง Loop https://www.facebook.com/photo/?fbid=179803728014794&set=a.155738777087956
AR Poster MV ช่วงเวลา – Zweed n’ Rol https://www.facebook.com/photo/?fbid=179583084703525&set=a.155738777087956
AR Poster หนังเรื่อง Subconcious https://www.facebook.com/photo/?fbid=179388764722957&set=a.155738777087956
AR Poster ละครเวที ร้านค้าอลวน https://www.facebook.com/photo/?fbid=179265708068596&set=a.155738777087956
กลุ่มสารคดี สารคดีฟุตบอลทีมเซนต์เทเรซา https://www.youtube.com/watch?v=6YzDxPBfcM0&t=147s
สารคดีเล่าเรื่องเล่าชีวิตเพื่อนชั้นเรียน https://fb.watch/l1bg-qiR9u/?mibextid=Nif5oz
สารคดีเบื้องหลังการทำทีสิส https://www.youtube.com/watch?v=QOVwj4MTXVU
กลุ่มรายการ เที่ยวตามเซนต์ ตอน จะไปฟิต with จปร. 5/1 https://www.youtube.com/watch?v=BQhSfQ04fHs&t=5s
เที่ยวตามเซนต์ ตอน จะไปฟิต with จปร. 5/2 https://www.youtube.com/watch?v=7VTme4uoCvc&t=69s
รายการเที่ยวตามเซนต์ ตอน ไทยพวนชวนฝัน ตอนที่ 6 https://youtu.be/fFNHxPLX9mw
กลุ่มการแสดง ละครเวที ร้านค้าอลวน คนอลเวง https://youtu.be/noViTW4zOnQ
กลุ่มภาพถ่าย ภาพถ่ายบุคคล https://tineyandtide.wixsite.com/valenztine/portraits
ภาพถ่ายบุคคลแฟชั่น Portfolio | My Site 11 (mickywithoute.wixsite.com)
ภาพถ่ายขาวดำ BLACK WHITE | FILM (film0635249833.wixsite.com)
ภาพถ่าย Landscape https://mickywithoute.wixsite.com/littlemickey

 

โดยหลักสูตรฯมีการมีมาตรฐานและขั้นตอนการประเมินนักศึกษา ดังที่ได้อธิบายอย่างละเอียดไปแล้วในองค์ประกอบที่ 7 ข้อที่ 3 ในหัวข้อ มาตรฐานและขั้นตอนการประเมินนักศึกษาที่กำลังศึกษา และหัวข้อมาตรฐานและขั้นตอนการประเมินนักศึกษาใกล้จบ (โครงงานนิเทศศาสตร์) 

นอกจากนั้น ยังมีระบบอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดูแล ให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา ให้ความช่วยเหลือด้านการใช้ชีวิตด้านวิชาการ และแนะแนว เพื่อให้นักศึกษามีการเรียนรู้อย่างมีความสุข และระบบที่ปรึกษาโครงงานเพื่อให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ เพื่อให้นักศึกษาในหลักสูตรฯสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่กำหนด ดังที่ได้อธิบายอย่างละเอียดไปแล้วในองค์ประกอบที่ 5 ข้อที่ 3 ในหัวข้อ ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา และระบบที่ปรึกษาโครงงาน

เพื่อยกตัวอย่างการตรวจสอบและมีเกณฑ์มาตรฐาน จะแสดงขั้นตอนการประเมินนักศึกษาใกล้จบ (โครงงานนิเทศศาสตร์) ดังรูปภาพที่ 9.1 แสดงขั้นตอนการตรวจสอบโครงงานนิเทศศาสตร์

ผลงานวิจัยของอาจารย์

คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้วางแผนการพัฒนาอาจารย์ด้านงานวิจัย ผ่านโครงการการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย (HS10 Teaching Potential Development for Lecturers) ซึ่งได้วิทยากรจากสถาบันภาษาจุฬาฯมาเป็นผู้อบรม นอกจากนั้น ยังได้วางแผนด้านการวิจัยและนวัตกรรม ผ่านโครงการ Research Fund Project (HS23) โครงการ Publication Fund Project (HS24) และโครงการ Training on Textbook or Academic Work Production (HS25)

ซึ่งหลักสูตรฯ ตอบสนองนโยบายคณะฯที่เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาอาจารย์และงานวิจัย โดยได้ส่งตัวแทนเข้าร่วมโครงการเท่าที่สามารถทำได้ ตลอดจนผลิตผลงานวิจัย ดังแสดงใน ตารางที่ 9.3 แสดงผลงานทางวิชาการของอาจารย์ในหลักสูตรฯ

 

ตารางที่ 9.3 แสดงผลงานทางวิชาการของอาจารย์ในหลักสูตรฯ

Title Name of Journal Index Year Evidence
ผศ.ดร.บุญทิวา นาคะตะ
1 The Influence of Multimedia Based Pedagogy to Empower Creativity in Communication Art and Digital Media Students SCOPUS

Q4

2564 9.3.1
นายคมสัน สืบแสง
1 Factors Affecting Intention to Buy and Evaluation of Perceived Risks of E-Commerce Products SSRN 2562 9.3.2
2 Digital Media in Interpersonal Communication: A Thai Youth Perspective SCOPUS

Q4

2563 9.3.3
3 The Impact Of Media Exposure On The Admiration

Of K-POP Artists Among Thai Teenagers In

Bangkok

SCOPUS

Q4

2563 9.3.4
4 The Relationship Between The Acceptance Of Retro Dramas And The Selection Of Thai TV Drama Script Writing Among Audiences In Bangkok, Thailand SCOPUS

Q4

2563 9.3.5
5 The Relationship between Content Selection and the Selection of Infotainment Format Broadcasted on Digital Television among Millennial Viewers in

Bangkok, Thailand

SCOPUS

Q4

2563 9.3.6
ดร.ปริศนา กัมพูสิริ
1 Correlation between Channels of Perceiving the Information and the Characteristic of Perception about the PM 2.5 Pollution in Bangkok, Thailand SSRN 2561 9.3.7
2 The Relationship Between The Behaviors In Using Social Media Use And The Change In Social Behaviors Of Secondary Education School Students In Thailand SCOPUS

Q4

2563 9.3.8
นายสิทธิพันธ์ อชิรอารีพันธ์
1 The Influence of Multimedia Based Pedagogy to Empower Creativity in Communication Art and Digital Media Students SCOPUS

Q4

2564 9.3.9
นางสาวจิรัตนา กรีวงษ์
1 The Correlation Between the Quality of Airline Services and the Loyalty of the Users of Thailand Domestic Airlines SSRN 2561 9.3.10
2 Digital Media In Interpersonal Communication: A Thai Youth Perspective SCOPUS

Q4

2563 9.3.11
3 The Relationship Between The Acceptance Of Retro Dramas And The Selection Of Thai TV Drama Script Writing Among Audiences In Bangkok, Thailand Scopus

Q3

2563 9.3.12
4 The Relationship between Content Selection and the Selection of Infotainment Format Broadcasted on Digital Television among Millennial Viewers in Bangkok, Thailand Scopus

Q4

2563 9.3.13
5 THE DEVELOPMENT OF THAILAND’S LOCAL WISDOM ON LOW-FAT KRAYASART (THAI SWEET CEREAL BAR) PRODUCTS, DEVELOPED BY LOCAL PRODUCT GROUPS IN NAKHON NAYOK FOR COMMERCIAL PURPOSES Scopus

Q1

2564 9.3.14
6 The Effect of Social Media use on the Well-Being of the Thai Elderly in the Bangkok Metropolitan Region, Thailand Scopus

Q4

2565 9.3.15
7 FACTORS INFLUENCING THE BRAND BUILDING OF THAI UNIVERSITIES IN THE ERA OF DIGITAL DISRUPTION Scopus

Q2

2565 9.3.16

หลักฐาน

9.3

9.3.1 Loop
9.3.2 Subconscious
9.3.3 MV ช่วงเวลา – Zweed n’ Rol
9.3.4 หนังสั้น ปี 3 Timeless
9.3.5 หนังสั้น ปี 3 Time-Up
9.3.6 หนังสั้น ปี 3 Sleep Well
9.3.7 หนังสั้น ปี 3 Knock
9.3.8 หนังสั้น ปี 2
9.3.9 STIC Cap Advertising
9.3.10 STIC Football Short Poster
9.3.11 CA Showcase Radio Advertising
9.3.12 Packshot product: Can Advertising
9.3.13 AR Poster หนังเรื่อง Loop
9.3.14 AR Poster MV ช่วงเวลา – Zweed n’ Rol
9.3.15 AR Poster หนังเรื่อง Subconcious
9.3.16 AR Poster ละครเวที ร้านค้าอลวน
9.3.17 สารคดีฟุตบอลทีมเซนต์เทเรซา
9.3.18 สารคดีเล่าเรื่องเล่าชีวิตเพื่อนชั้นเรียน
9.3.19 สารคดีเบื้องหลังการทำทีสิส
9.3.20 เที่ยวตามเซนต์ ตอน จะไปฟิต with จปร. 5/1
9.3.21 เที่ยวตามเซนต์ ตอน จะไปฟิต with จปร. 5/2
9.3.22 รายการเที่ยวตามเซนต์ ตอน ไทยพวนชวนฝัน ตอนที่ 6
9.3.23 ละครเวที ร้านค้าอลวน คนอลเวง
9.3.24 ภาพถ่ายบุคคล
9.3.25 ภาพถ่ายบุคคลแฟชั่น Portfolio | My Site 11 (mickywithoute.wixsite.com)
9.3.26 ภาพถ่ายขาวดำBLACK WHITE | FILM (film0635249833.wixsite.com)
9.3.27 ภาพถ่าย Landscape

4. มีระบบกำกับติดตามข้อมูล ที่แสดงความสำเร็จของหลักสูตรตามเป้าหมายที่กำหนด

หลักสูตรฯมีระบบติดตามข้อมูลเพื่อให้เห็นถึงความสำเร็จของหลักสูตร ดังนี้

  1. หลักสูตรฯมีการติดตามข้อมูลผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษา และแสดงผลงานดังกล่าวผ่านช่องทาง YouTube : DIGITAL MEDIA St.Theresa International College (Evidence 9.4.1) และ Facebook Fanpage : Digital Media : St.Theresa ของสาขา (Evidence 9.4.2) เพื่อสะท้อนถึงความสำเร็จของหลักสูตร ตลอดจนทำให้สามารถตรวจสอบและติดตามผลงานย้อนหลังได้
  2. หลักสูตรฯมีการติดตามข้อมูลผลงานวิจัยของอาจารย์ โดยมีนโยบายให้อาจารย์ที่มีผลงานวิจัย ต้องรายงานผลงานดังกล่าวต่อหัวหน้าสาขาฯ และคณะบดีฯ เพื่อทำการเก็บรวบรวมข้อมูล และหากคณะฯเห็นว่างานวิจัยดังกล่าวมีความน่าสนใจในการเผยแพร่ความรู้สู่บุคคลากรในวิทยาลัยผ่านโครงการ Knowledge Management Project ที่ถูกจัดขึ้นในวันที่ 21 ตุลาคม 2564 และ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 (Evidence 9.4.3)

หลักฐาน

9.4

9.4.1 ตัวอย่างช่อง YouTube หลักสูตรฯ
9.4.2 ตัวอย่าง หน้า Facebook Fanpage หลักสูตร
9.4.3 โครงการ HS44 Knowledge Management Project

5. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หลักสูตรฯมีโครงการติดตามผลบัณฑิต (Evidence 9.5.1) เพื่อการติดตามการประเมินผลของผู้ใช้บัณฑิต ผ่านแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา 

ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงาน ของบัณฑิตวิยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.58 อยู่ในระดับ ความพึงพอใจมาก ดังแสดงรายละเอียด ดังภาพที่ 9.2 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงาน ของบัณฑิตวิยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา

ระดับความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตด้านผลลัพธ์ของผู้เรียนของบัณฑิตวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.463 อยู่ในระดับ ความพึงพอใจมาก ดังแสดงรายละเอียด ดังภาพที่ 9.3 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตในด้านผลลัพธ์ของผู้เรียน ของบัณฑิตวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา

ระดับความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตในด้านภาษาอังกฤษและทักษะศตวรรษที่ 21 ของบัณฑิตวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.23 อยู่ในระดับ ความพึงพอใจมาก ดังแสดงรายละเอียด ดังภาพที่ 9.4 แผนภูมิแสดงความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในประเด็นความสามารถในการทำงานในศตวรรษที่ 21

หลักฐาน

9.5

9.5.1 โครงการติดตามผลบัณฑิต

6. มีผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ/การทำประโยชน์ให้ท้องถิ่นและสังคม

หลักสูตรฯได้มีการให้บริการด้านวิชาการเพื่อชุมชน ผ่านโครงการบริการชุมชนตามแผนโครงการประจำปี 2565 โดยอ้างอิงจากร่างแผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2565 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Evidence : 9.6.1) โดยมีโครงการที่อยู่ในส่วนความรับผิดชอบของหลักสูตร จำนวน 3 โครงการ ดังต่อไปนี้

 

ตารางที่ 9.4 ตารางแสดงโครงการประจำปี 2565 ที่หลักสูตรเป็นผู้รับผิดชอบในด้านการบริการด้านวิชาการเพื่อชุมชน

 

ลำดับ รหัสโครงการ ชื่อโครงการ ประโยชน์ที่ได้รับ
1 HS27

BE/CA

Academic Service for Ongkharak Community ครูและนักเรียนกลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตสื่อผ่านโปรแกรม Canva ได้และสามารถนำความรู้ไปต่อยอดได้ในอนาคต
2 HS28

BE/CA

The Integration of Academic Services with Courses เพื่อให้ความรู้แก่ชุมชนผ่านกระบวนการเรียนการสอนด้วยคอร์สเป็นการเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ชุมชนในการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป
3 HS30

CA

โครงการชุมชนเข้มแข็ง เพื่อเป็นการนำเสนอและเผยแพร่แหล่งชุมชนที่น่าสนใจในนครนายกผ่านการผลิตสื่อลงบนช่องทางการเผยแพร่ของหลักสูตรในช่องทางต่างๆ เช่น YouTube, Facebook และ ช่องทางอื่น
4 HS33 โครงการนครนายกชาแนล เพื่อสร้างสื่อที่มีคุณภาพและเสริมสร้างเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนในจังหวัดนครนายก

โดยหลักสูตรมีการจัดทำโครงการ Academic Service for Ongkharak Community ผ่านกิจกรรม Academic Camp : Multimedia Camp ในวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 สำหรับคณาจารย์โรงเรียนใกล้เคียง ในจังหวัดนครนายก พื้นที่ใกล้เคียงกับวิทยาลัย เช่น โรงเรียนชุมชนวัดพิชิตปิตยาราม อ.ธัญบุรี เพื่อใช้ผลิตสื่อการเรียนการสอนตามประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับที่ระบุไว้ในโครงการ (Evidence :  9.6.2)

มีการอบรมการสอนการทำสื่อ มีเดียต่างๆ เช่น ผลิตภาพยนตร์สั้น ให้กับวิทยาลัยแสงธรรม เพื่อสามารถสร้างสรรค์สื่อได้ด้วยตนเอง อย่างสร้างสรรค์โดยเป็นโครงการที่ร่วมกับสาขาสื่อดิจิทัล ในการกำหนดคอร์สการเรียนการสอนเพื่อให้ความรู้แก่ชุมชนโดยประยุคน์กับวิชาเรียนในสาขาสื่อดิจิทัล (Evidence : 9.6.3)

มีการบริการด้านชุมชนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมโดยหลักสูตรได้ทำโครงการ “ชุมชนเข้มแข็ง” โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการดังนี้

  1. เพื่อบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน/สังคม
  2. เพื่อบูรณาการความรู้ที่ได้จากการเรียนมาสร้างสรรค์สื่อคุณภาพ

โดยวัตถุประสงค์ของโครงการได้สอดคล้องกับแผนการดำเนินการเพื่อบริการชุมชนที่มีประโยชน์ต่อสังคมโดยอ้างอิงตามหลักฐานของโครงการซึ่งในปี 2565 ทางโครงการได้บริการชุมชนไทยพวน ในจังหวัดนครนายกโดยเป็นชุมชนที่อาศัยและมีวิถีชีวิตที่เป็นอัตลักษณ์ของชาวไทยพวน (Evidence : 9.6.4)

หลักสูตรฯได้มีการบริการชุมชนได้แก่โครงการ นครนายกแชแนล ซึ่งเป็นการบริการชุมชนในด้านของการส่งเสริมเศรษฐกิจและการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในจังหวัดนครนายกซึ่งในปี 2565 โดยเป็นการส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวคือ Leader Adventure เป็นส่วนหนึ่งใน โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าโดยโครงการได้จัดทำรายการจำนวน 2 ตอนโดยโครงการได้ดำเนินการในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน 2566 โดยสื่อที่ได้จัดทำได้เผยแพร่ผ่านทางช่อง YouTube : DIGITAL MEDIA St.Theresa International College และเพิ่มช่องประชาสัมพันธ์ผ่านการ Share บน Facebook ต่างๆในวิทยาลัย

มากไปกว่านั้นสาขาสื่อดิจิทัลได้มีมีการอบรมการสอนการทำสื่อวิดีโอ เช่น ผลิตภาพยนตร์สั้น สื่อการเรียนการสอนให้กับคณะพยาบาลศาสตร์ ภายในวิทยาลัย เพื่อสามารถสร้างสรรค์ผลิตสื่อได้ด้วยตนเอง เพื่อเสริมทักษาะการเรียนการสอนให้นักศึกษาอย่างสร้างสรรค์โดยเป็นการบริการวิชาการของหลักสูตรนอกเหนือจากแผนดำเนินงานของหลักสูตรโดยเป็นการบูรณาการให้ความรู้ด้านการผลิตสื่อการเรียนการสอนกับสาขาอื่นๆเพื่อเพิ่มศักยภาพการเรียนการสอนของวิทยาลัยให้มีการพัฒนามากยิ่งขึ้น (Evidence : 9.6.5) และมีการอบรมการสอนการทำสื่อ มีเดียต่างๆ เช่น ผลิตภาพยนตร์สั้น ให้กับวิทยาลัยแสงธรรม เพื่อสามารถสร้างสรรค์สื่อได้ด้วยตนเอง อย่างสร้างสรรค์โดยเป็นโครงการที่ร่วมกับสาขาสื่อดิจิทัล ในการกำหนดคอร์สการเรียนการสอนเพื่อให้ความรู้แก่ชุมชนโดยประยุกต์กับวิชาเรียนในสาขาสื่อดิจิทัล (Evidence : 9.6.6)

หลักฐาน

9.6

9.6.1 ร่างแผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2565 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
9.6.2 เอกสารโครงการ HS 21/2565 โครงการ Academic camp
9.6.3 เอกสารโครงการ HS 30/2565 โครงการชุมชนเข้มแข็ง
9.6.4 เอกสารโครงการ HS 33/2565 โครงการนครนายกชาแนล
9.6.5 เอกสารหนังสือเชิญของคณะพยาบาล
9.6.6 เอกสารหนังสือเชิญของวิทยาลัยแสงธรรม

 

7. มีผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

สาขาสื่อดิจิทัลได้มีการส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจด้านศิลปะและวัฒนธรรมโดยมีการจัดกิจกรรมโครงการทั้งภายในหลักสูตรฯ โครงการของคณะและโครงการในระดับวิทยาลัยมีดังนี้

 

ตารางที่ 9.5 ตารางแสดงโครงการแสดงการส่งเสริมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ในปีการศึกษา 2565

 

ลำดับ รหัสโครงการ ชื่อโครงการ หลักฐาน
1 HS07 โครงการศึกษาดูงานผู้ผลิตงานด้านสื่อสารมวลชน

กิจกรรมที่ 1 ดูงานหอภาพยนตร์

9.7.1 เอกสารโครงการ HS 07กิจกรรมที่ 1
3 HS34 The Integration of Art and Culture with Course Contents 9.7.2 เอกสารโครงการ HS 34
4 HS35 International Culture Day in 2022 9.7.3 เอกสารโครงการ HS 35
5 HS36 Cultural & Traditional Heritage in 2022 9.7.4 เอกสารโครงการ HS 36

 

  1. โครงการศึกษาดูงานผู้ผลิตงานด้านสื่อสารมวลชน โดยหลักสูตรฯ ได้นำนักศึกษาไปยังหอภาพยนตร์ โดยเป็นโครงการของหลักสูตรฯโดยมีจุดประสงค์ดังนี้
    1. เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ให้นักศึกษาด้านประวัติศาสตร์ภาพยนตร์
    2. เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการผลิตภาพยนต์สารนิพนธ์ให้แก่นักศึกษา
    3. เพื่อประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ความสัมพันธ์ที่ดีของนักศึกษาที่มีต่อวิทยาลัย

โดยโครงการดังกล่าวสะท้อนถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมเกี่ยวกับภาพยนต์ซึ่งมีนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวและมีผลประเมินความพึงพอใจอยู่ที่ 4.42 ซึ่งมีผลเป็นที่น่าพอใจในการจัดกิจกรรม

โดยโครงการที่ 2 – 5 (ตามตารางที่ 9. เป็นโครงการที่ทางคณะฯได้มีการจัดกิจกรรมซึ่งทางหลักสูตรฯมีนโยบายให้นักศึกษาเข้าร่วมทุกโครงการที่ทางคณะฯจัดซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมทั้งสิ้น 4 โครงการได้แก่

  1. โครงการ Study Visit at the Museum of Thai and International เป็นโครงการที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของคณะฯซึ่งทาง
  2. โครงการ The Integration of Art and Culture with Course Contents
  3. โครงการ International Culture Day in 2022
  4. โครงการ Cultural & Traditional Heritage in 2022 

โดยสาขาสื่อดิจิทัลมีจุดมุ่งหมายนำทักษะองค์ความรู้ มาเพื่อสื่อสารยกระดับศิลปะวัฒนธรรม ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น ในจังหวัดนครนายกซึ่งเป็นที่ตั้งของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา

หลักฐาน

9.7

9.7.1 เอกสารโครงการ HS 07/2565 กิจกรรมที่ 1 
9.7.2 เอกสารโครงการ HS 34/2565
9.7.3 เอกสารโครงการ HS 35/2565
9.7.4 เอกสารโครงการ HS 36/2565

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
…5 ข้อ… IQA(1-7) 1,2,3,6,7 ….5…ข้อ …4..คะแนน
AUN-QA(1-5) 1(4), 2(4), 3(4) ระดับ……3…….

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 คุณภาพบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

 

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต มีค่าเฉลี่ย 4.58

หลักฐาน

9.2.1.1 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต ผู้ตอบร้อยละ22.22 4.58 คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.2.1.1

ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 การมีงานทำ/ผลงานวิจัยตีพิมพ์ของบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

การได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

  1. ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ = (จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ/จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทั้งหมด) *100
  2. คะแนนที่ได้ = (ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ/100) *5

  1. ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ = (11/15) *100 = 73.33
  2. คะแนนที่ได้ = (73.33/100) *5 = 3.67

ตารางแสดงการได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

รายการ จำนวน
1. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด 15
2. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา 15
3. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ) 8
4. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ 3
5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา
6. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา
7. เงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ (ค่าเฉลี่ย) 18,818
8. ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) 4.58
9. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว
10. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท 1
11. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร 1

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) ปริญญาตรี จำนวนผู้มีงานทำใน 1 ปี/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ร้อยละ…… …..คะแนน
ปริญญาโท/เอก ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ร้อยละ…… …..คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.3.1.1

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเอง IQA AUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 …4… …3…
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 …4.58…
ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 3.67
คะแนนเฉลี่ย 4.24

Leave a Reply