องค์ประกอบที่ 6 คณาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 คุณภาพคณาจารย์ (คุณภาพของบุคลากรสายวิชาการ)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-7 ข้อ 8-10 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-8 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. วางแผนด้านบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม

          หลักสูตรได้มีการกำหนดตำแหน่ง หน้าที่ ภาระงานและวางแผนให้อาจารย์และบุคลากรเข้าร่วมการอบรม การให้ความรู้เพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถ มากกว่า 15 ชั่วโมง/คน/ปีการศึกษา 

          วิทยาลัยมีการกำหนดภาระงานของอาจารย์ประจำของวิทยาลัย กำหนดให้อาจารย์มีภาระงาน 40 ภาระงาน/สัปดาห์ (1 ภาระงาน= 1 ชั่วโมง)  ซึ่งได้กำหนดให้บุคลากรสายวิชาการมีภาระงาน 4 ด้าน คือ 

          – ภาระการสอน ซึ่งเป็นภาระหน้าที่หลักที่สำคัญของอาจารย์

          – งานวิจัยและ/หรือผลงานวิชาการ (รวมทั้งเผยแพร่/นำเสนอ)

          – งานบริการวิชาการแก่สังคมและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 

          – งานอาจารย์ที่ปรึกษา

โดยการกำหนดจำนวนที่เหมาะสมนั้นต้องสอดคล้องกับจำนวนนักศึกษาเป็นพื้นฐาน และทางคณะฯได้จัดทำแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร (พ.ศ.2563-2567) ประกอบไปด้วย 

  1. แผนการศึกษาต่อระดับปริญญาเอก การอบรมระยะสั้น การประชุมสัมมนา
  2. แผนการจัดหาอาจารย์ในอนาคต

หลักสูตรได้ใช้ระบบและกลไกในการรับอาจารย์ใหม่ โดยมีระบบและกลไกการดำเนินการ พอสังเขปดังนี้

2.1 หลักสูตรมีการวิเคราะห์อัตรากำลัง กำหนดสาขาความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ของอาจารย์ที่หลักสูตรต้องการ โดยสำรวจความเชี่ยวชาญและความต้องการให้สอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของคณะและหลักสูตร และเสนอกรอบอัตรากำลังให้กับคณะและวิทยาลัยเพื่อพิจารณา

2.2 คณะ/วิทยาลัย ประกาศรับสมัครอาจารย์ตามแผนการรับ และเข้าสู่ขั้นตอนการสอบคัดเลือกตามที่วิทยาลัยกำหนด

  1. แผนการพัฒนาอาจารย์เพื่อความก้าวหน้าทางคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ​
  2. แผนการรักษาอาจารย์​

เพื่อเป็​นการส่งเสริมความก้าวหน้า​ทาง​วิชา​การหลักสูตร​ส่งเสริม​ให้อาจารย์​ทำวิจัย​และ/หรือผลิตผลงานทางวิจัย​ วิชาการ​ เพื่อตีพิมพ์​ในวารสารระดับนานาชาติ​บนฐานข้อมูล​ SCOPUS​ โดยวิทยาลัยมีงบประมาณ​สนับสนุนงานวิจัยและสนับสนุน​การตีพิมพ์​

Each academic year, the Program instructors and staff are required to attend more than 15 hours of seminar so as to be updated on knowledge, skills and technology.

Each instructor is assigned by College a work load of 40 hours per week. Their four duties are as follows:

  1. Teaching, which is the main job
  2. Research or academic work, including presentation or publication 
  3. Academic services to community and promote art and culture 
  4. Student academic advisor

The​ program has a five-year plan of instructor administration and development (พ.ศ.2563-2567) consisting of:

1.Further study plan at Ph. D level, short term training and seminar

2.New instructor recruitment in the future plan. 

In​ accepting new instructors, the program has the following procedure:

      2.1 The​ Program​ has done a workforce analysis, specifying field of specialization, experience and need aligned with philosophy and vision of Faculty and Program. Details of workforce analysis will be presented to the Faculty and College for consideration

     2.2​ Faculty​ and College make an announcement of instructor application, together with details of procedure. 

  1. Instructor development plan for advancement of educational qualification and academic title. 
  2. Instructor maintaining plan 

In order to promote advancement of instructors as one mean to keep instructors, College and program inform and encourage instructors to do research and/or academic work to be published in SCOPUS international journals. Research and publication grants are provided annually. 

หลักฐาน : 6.1.1.1 แผนการพัฒนาบุคลากรของคณะ

                  6.1.1.2 คู่มือบุคลากร

6.1.1.3 แผนปฏิบัติการประจำปี

2. มีการควบคุมปริมาณงานเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพของงาน

วิทยาลัยกำหนดให้อาจารย์มีภาระงาน 40 ภาระงาน/สัปดาห์ (1 ภาระงาน= 1 ชั่วโมง) ซึ่งงานที่ต้องรับผิดชอบ มีดังต่อไปนี้

  1. ภาระสอน ซึ่งเป็นภาระหลักที่สำคัญของอาจารย์ มีแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้

1.1 อาจารย์ประจำ มีภาระการสอนขั้นต่ำต่อภาคการศึกษา ดังต่อไปนี้

– อาจารย์ประจำที่มิได้ตำรงตำแหน่งบริหาร ให้มีภาระการสอนปกติไม่เกิน 15 ภาระงาน/สัปดาห์ในระดับปริญญาตรี และไม่เกิน 9 ภาระงาน/สัปดาห์ในระดับบัณฑิตศึกษา

– อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่ง อธิการบดีและรองคณบดี มีภาระการสอนไม่เกิน 3 ภาระงาน/สัปดาห์ ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา

– อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่ง คณบดีและรองคณบดีหรือเทียบเท่า มีภาระการสอนไม่เกิน 9 ภาระงาน/สัปดาห์ ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา

– อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งหัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าแผนกหรือเทียบเท่า มีภาระการสอนไม่เกิน 12 ภาระงาน/สัปดาห์ ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา

โดยมีลักษณะและแนวปฏิบัติกำหนดภาระการสอน ดังนี้

1.2 ลักษณะการสอน อาจารย์ดำเนินการจัดการเรียนการสอนในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะตามธรรมชาติวิธี โดยมีวิธีคำนวณภาระงาน ดังนี้

– ระดับปริญญาตรี

(1) รายวิชาบรรยาย/รายวิชาบรรยายและปฏิบัติ 1 หน่วยกิต เท่ากับ 1 ภาระงาน/สัปดาห์

(2) รายวิชาปฏิบัติการตามตารางสอน 2 หน่วยกิต เท่ากับ 1 ภาระงาน/สัปดาห์

(3) ที่ปรึกษางานนิพนธ์ โครงงานหรืองานอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน เป็นภาระงานต่อโครงงานหลักเสร็จสมบูรณ์

(4) อาจารย์ที่เป็นกรรมการสอบ/โครงงานหรืองานอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน 5 โครงงานนับเป็น 1.0 ภาระงาน/สัปดาห์

(5) อาจารย์ที่ปรึกษาทำหน้าที่เป็นกรรมสอบโครงงานไม่สามารถนับเป็นภาระงานได้

1.3 จำนวนวิชาที่สอน อาจารย์ประจำจะสอนในภาคปกติไม่เกิน 5 รายวิชา

การรับผิดชอบการสอนรายวิชา หมายถึง การทำ มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 การเตรียมการสอน การออกข้อสอบ การวัดประเมินผล และการปรับปรุงการสอนวิชานั้น

  1. งานวิจัยและ/หรือผลงานวิชาการ (รวมทั้งเผยแพร่/นำเสนองาน)

ในแต่ละปีการศึกษาอาจารย์จะต้องมีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการที่มีการเผยแพร่และหรือนำเสนอผลงาน อย่างน้อย 1 เรื่อง

  1. Research and academic work 

Each year instructors are to produce 

  1. งานบริการวิชาการแก่สังคมและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

3.1 อาจารย์ประจำในฐานะนักวิชาการย่อมต้องมีกิจกรรมให้บริการวิชาการแก่สังคมและผลงานต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับการเรียนการสอน และการแสวงหาความรู้เพิ่มเติม อาทิเช่น การตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัย และ/หรือผลงานวิชาการ การเป็นวิทยากร การเป็นที่ปรึกษาโครงงาน หรือการจัดฝึกอบรมให้สถาบัน หน่วยงาน และชุมชนต่างๆ

 

3.2 อาจารย์ประจำในฐานะของผู้ถ่ายทอดความรู้ความสามารถและประสบการณ์ให้กับนักศึกษาและชุมชนทั่วไป ต้องมีกิจกรรมที่ส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทั้งในด้านการถ่ายทอดความรู้ การแสวงหาความรู้เพิ่มเติม อาทิเช่น การตีพิมพ์เผยแพร่ และ/หรือผลงานด้านศิลปวัฒนธรรม การเป็นวิทยากร การเป็นที่ปรึกษาโครงงาน หรือการจัดฝึกอบรมให้สถาบัน หน่วยงาน และชุมชนต่างๆ

  1. งานอาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ประจำ จะต้องมีภาระงานการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นไปตามระเบียบอาจารย์ที่ปรึกษา

  1. Academic services to society and promotion of art and culture 

3.1 regular instructors in the capacity of academics are to organize academic services to society, to produce work related to learning and teaching and to seek additional knowledge, such as having research papers published on art and culture, as an invited speaker or project consultant, or organizing training of institute, organizations and various communities. 

3.2​ Regular instructors in the capacity of the ones who transfer knowledge, expertise and experience to students and general public in community are to organize activities promoting and preserving art and culture, seeking additional knowledge, such as having research papers published on art and culture, as an invited speaker or project consultant, or organizing training of institute, organizations and various communities. 

  1. Academic Advisors 

Regular instructors are required to be academic instructors whose responsibility is in line with the College advisor regulations. 

The​ ​College required instructors to do a workload of 40 hours a week with the following responsibilities:

1.Teaching

Teaching is the main duty of instructors. Following is the guideline:

1.1  Minimum teaching load of regular instructors:

-For instructors with no admiration duty: 15 teaching hours per week at undergraduate level and no more than 9 teaching hours at postgraduate level. 

-Regular instructors holding a position of Rector and associate Dean have 3 hours of teaching load per week at both undergraduate and post-graduate levels.

-regular instructors holding a position of Dean, associate Dean or equivalent, 9 teaching hours per week both at undergraduate and post-graduate levels. 

-regular instructors holding a position of head of department or equivalent, not more than 

12 teaching hours per week at both undergraduate and post-graduate levels. 

หลักฐาน : 6.1.2.1 แผนการพัฒนาบุคลากรของคณะ

                  6.1.2.2 คู่มือบุคลากร

3. กำหนดสมรรถนะ มีการประเมินผล และมีการสื่อสารให้ทราบ

หลักสูตรมีการกำหนดสมรรถนะของอาจารย์และบุคลากรเพื่อให้เป็นไปตามแผนการพัฒนาบุคลากรโดยอาจารย์และบุคลากรได้รับการปฐมนิเทศในครั้งแรกที่ปฏิบัติงาน และตามรอบระยะเวลาตามที่วิทยาลัยกำหนด เพื่อชี้แจงให้ทราบถึงบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ รายละเอียดหลักสูตร และการจัดทำประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

การประเมินผลการปฏิบัติงาน กำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตลอดอายุการทำงาน เพื่อให้บรรลุปณิธานการประเมินเพื่อการพัฒนา โดยยึดหลัก “ความยุติธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้” ตามระเบียบของวิทยาลัย

อีกทั้งทางหลักสูตรยังมีการประเมินผลภายในหลักสูตรเอง ได้แก่ Peer Observation/Review Exam Paper/Students Evaluation เป็นต้น หลังจากที่ทราบผลการประเมินทางหลักสูตรได้แจ้งกับผู้สอนเพื่อนำผลที่ได้ไปพัฒนาตนเองต่อไป

The program has set competency of instructors and staff according to personnel development plan. They are informed of this in their first orientation and time cycle as set by College. They will be informed of their role, duty, responsibility, the program and course syllabus.

หลักฐาน : 6.1.3.1 การประชุมบุคลากรประจำปี

6.1.3.2 Peer Observation

6.1.3.3 Review Exam Paper

6.1.3.4 Students Evaluation

4. บุคลากรสายวิชาการมีจำนวน และ มีภาระหน้าที่ที่เหมาะสม

วิทยาลัยกำหนดให้อาจารย์มีภาระงาน 40 ภาระงาน/สัปดาห์ (1 ภาระงาน= 1 ชั่วโมง) ซึ่งงานที่ต้องรับผิดชอบ มีดังต่อไปนี้

  1. ภาระสอน ซึ่งเป็นภาระหลักที่สำคัญของอาจารย์ มีแนวทางการ
  2. งานวิจัยและ/หรือผลงานวิชาการ (รวมทั้งเผยแพร่/นำเสนองาน)

ในแต่ละปีการศึกษาอาจารย์จะต้องมีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการที่มีการเผยแพร่และหรือนำเสนอผลงานอย่างน้อย 1 เรื่อง

  1. งานบริการวิชาการแก่สังคมและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

หลักสูตร​ได้ให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างสม่ำเสมอทุกปีการศึกษา​ ในปี​ 2022​ อาจารย์​พร้อมด้วยนักศึกษา​หลักสูตร​ได้ร่วมมือกันออกไปสอนภาษา​อังกฤษ​ให้กับนักเรียนที่โรงเรียน​คริสตจักร​สงเคราะห์​ อำเภอ​องครักษ์​

ในด้านการส่งเสริมศิลป​วัฒนธรรม​ หลักสูตร​ได้ทำเป็น​ประจำเช่นกัน​ โดยร่วมกับทางวิทยาลัยในงานไหว้ครู​ จัดแสดงศิลปนานาชาติ​ ลอยกระทง​ เข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์​การบิน

  1. งานอาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ประจำ จะต้องมีภาระงานการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นไปตามระเบียบอาจารย์ที่ปรึกษา

ทั้งนี้หลักสูตรได้มีกำหนดและวางแผนงานให้กับอาจารย์และบุคลากรตามทักษะ ความรู้ ความสามารถหรือความถนัดของคนๆนั้นๆ เช่น การกำหนดรับผิดชอบในโครงการต่างๆของคณะ

Each semester, an instructor is assigned 40 workloads per semester (1 workload = 1 hour). The responsibilities include:

1.Teaching, which is the main job. 

  1. Research and/or academic work, including publication or presentation. 

Each academic year, the instructor has to produce at least one research or published academic paper or presentation. 

  1. Academic​ services to community and promoting art and culture 

The program provides academic services to community regularly. This year too, instructors and students organized English language teaching to students at Christian School, Ongkarak. 

As regards art and culture promotion, the program joined College in cultural events like Wai Khru, Loy Krathong, International cultural Day. In addition, students went for a study visit at Aviation Museum, Suvarnnaphum International Airport. 

  1. Academic Advisors 

Regular instructors are required to be academic instructors whose responsibility is in line with the College advisor regulations. 

 

หลักฐาน : 6.1.4.1 คู่มือบุคลากร

                  6.1.4.2 แผนปฏิบัติการโครงการ 2565

6.1.4.3 Happy Workplace Index

5. มีระบบประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรม และเกี่ยวข้องกับงาน

หลักสูตรมีการประเมินผลโดยยึดตามระเบียบของวิทยาลัยที่มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรมและเกี่ยวข้องกับงาน ได้กำหนดการประเมินบุคลากรสายวิชาการ ดังนี้

  1. การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ หมายถึง การประเมินภาระงาน เพื่อพิจารณาการต่อสัญญาจ้าง ได้กำหนดหลักเกณฑ์ให้ครอบคลุม 4 พันธกิจ คือ งานวิชาการ งานวิจัย งานบริการวิชาการ และงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
  2. การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับอาจารย์ใหม่ จะมีการประเมินการทดลองการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรใหม่ และการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี
  3. การประเมินการสอนของอาจารย์ ทางคณะฯได้จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน และทางคณะได้ใช้กระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในระดับหลักสูตรเพื่อทบทวนและประเมินการสอนของอาจารย์ให้เป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนด

 โดยแบบทวนสอบที่คณะจัดทำขึ้น จะพิจารณาถึงความสอดคล้องของผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรและผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับกระบวนวิชา

 รวมถึงสอดคล้องของผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับกระบวนวิชากับวิธีการสอนและวัดประเมินผล อีกส่วนพิจารณาถึงผลสะท้อนกลับว่าผู้เรียนบรรลุตามผลลัพธ์ที่กำหนดหรือไม่ จากวิธีการสอนและวิธีการประเมินของผู้สอน แบบทวนสอบผลสัมฤทธิ์

ทั้งนี้ ทางหลักสูตรได้มีการประเมินการสอนของอาจารย์โดยมีการประเมินอาจารย์โดยนักศึกษา และให้อาจารย์ประเมินการสอนของ

ตนเอง

The​ ​Program​ performance evaluation is in line with the College regulations, evaluating on the basis of moral and transparency, as follows :

Academic​ related personnel :

Evaluation of workload for contract renewal consideration, covering four instructors missions, teaching, research, academic services to community, and preservation of art and culture. 

  1. New​ Instructors​ evaluation. 

There will be a probation period for new instructors and an annual performance evaluation.

  1. Evaluation​ of teaching. 

The Faculty has a questionnaire on satisfaction related to learning and teaching. 

In addition, a verification of achievement at the program level was used to review and evaluate instructors teaching.

The​ ​Faculty​ devised verification form will look at correlation between program learning outcomes and course learning outcomes,

course learning outcomes and teaching and evaluation method. 

Also, it will look at feedback from the students whether they have achieved the specified objectives.

The​ ​Program​ evaluated instructors teaching by students as well as self-evaluation. 

 

หลักฐาน : 6.1.5.1 ผลการประเมินนักศึกษาประเมินอาจารย์

                  6.1.5.2 ผลการประเมินอาจารย์ประเมินตนเอง

6.1.5.3 Peer Observation

6. กำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ชัดเจน และทำความเข้าใจให้ทุกคนทราบ

หลักสูตรได้มีการกำหนดหน้าที่และภาระงานของอาจารย์อย่างชัดเจนโดยระบุไว้ในแผนแผนการพัฒนาบุคลากรของคณะ และได้ทำความเข้าใจให้ทุกคนทราบในที่ประชุมของคณะ

The​ Program​ specifies instructors duty and workload clearly as stated in ‘Faculty personnel development plan’. All instructors are informed of this in the Faculty meeting.

หลักฐาน : 6.1.6.1 แผนพัฒนาบุคลากร

                  6.1.6.2 รายงานการประชุมของคณะ

6.1.6.3 คู่มือบุคลากร

6.1.6.4 การประชุมบุคลากรประจำปี

6.1.6.5 การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่

7. กำหนดและวางแผนพัฒนา ตามความต้องการของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ

หลักสูตรมีการกำหนดและวางแผนการพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์ ดังนี้

  1. การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

1.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน วิธีการสอน กลยุทธ์ในการ

สอนและการวัดและการประเมินผลในรายวิชา

1.2 สนับสนุนให้สอนร่วม จัดให้เข้าร่วมสัมมนาเชิงวิชาการในด้านการเรียนการสอนเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะความคิดเห็นกับผู้สอนหรือผู้ชำนาญการ

  1. การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ

2.1 สนับสนุนให้ผู้สอนทำงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่

2.2 พัฒนาให้ผู้สอนได้ศึกษาต่อเมื่อทำงานได้ระยะหนึ่ง

2.3 ให้ผู้สอนมีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตร ปรับปรุงรายวิชา หรือพัฒนาหลักสูตรใหม่

2.4 เปิดโอกาสหรือจัดงบประมาณให้ผู้สอนซื้อตำราเรียนใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน รวมทั้งอำนวยความสะดวกในด้านการจัดหาอุปกรณ์ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการให้เพียงพอ

โดยในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรได้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของอาจารย์ในหลักสูตรดังนี้

  1. โครงการอบรมอาจารย์ใหม่ (HS 11)
  2. โครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ (HS 09)
  3. โครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์ (HS 10)
  4. โครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ (HS 12)
  5. โครงการ Student Achievement Verification (HS 13)
  6. โครงการทุนวิจัย (HS 23)
  7. โครงการทุนสนับสนุนการตีพิมพ์ (HS 24)
  8. โครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย (HS 25)
  9. โครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS (HS 42)
  10. โครงการการจัดการความรู้ (HS 44)
  11. โครงการอาจารย์ประเมินตนเอง (HS 45)

The​ Program​ sets and plans knowledge and skills development for instructors as follows :

1.Learning and teaching management skills development, measurement and evaluation 

1.1​ A.​workshop on learning and teaching, teaching methods, strategies in teaching, measurement and evaluation of courses. 

1.2​ The​ ​Program​ encourages co-teaching, 

Academic seminar on learning and teaching, so as to share and exchange experience or opinions with other instructors or experts.

  1. Academic and professional development 

2.1 The program encouraged instructors to produce research and academic work so as to create new body of knowledge. 

2.2​ Instructors​ are given an opportunity to further their study after working for a certain period of time.

2.3​ Instructors​ can take part in program development and revision, course revision.

2.4 Instructors can request for new text books or teaching materials. 

In​ academic year 2022, the program organized the following activities for instructors knowledge and skills development :

  1. New instructors seminar (HS 11)
  2. ​Item​ writing clinical seminar (HS 09)
  3. Instructor’s teaching potential development project (HS 10)

 

หลักฐาน 6.1.7.1 โครงการอบรมอาจารย์ใหม่ (HS 11)

                            ผลการดำเนินการโครงการอบรมอาจารย์ใหม่

                            หลักฐานประกอบโครงการอบรมอาจารย์ใหม่

6.1.7.2 โครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ (HS 09)

              ผลการดำเนินการโครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ

             หลักฐานประกอบโครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ

6.1.7.3 โครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์ (HS 10)

             ผลการดำเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์

             หลักฐานประกอบโครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์

6.1.7.4 โครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ (HS 12)

             ผลการดำเนินการโครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ 

             หลักฐานประกอบโครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ 

6.1.7.5 โครงการ Student Achievement Verification (HS 13)

             ผลการดำเนินการโครงการ Student Achievement Verification

             หลักฐานประกอบโครงการ Student Achievement Verification

6.1.7.6 โครงการทุนวิจัย (HS 23)

              ผลการดำเนินการโครงการทุนวิจัย

              หลักฐานประกอบโครงการทุนวิจัย

6.1.7.7 โครงการทุนสนับสนุนการตีพิมพ์ (HS 24)

             ผลการดำเนินการโครงการทุนสนับสนุนการตีพิมพ์

             หลักฐานประกอบโครงการทุนสนับสนุนการตีพิมพ์

6.1.7.8 โครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย (HS 25)

             ผลการดำเนินการโครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย

            หลักฐานประกอบโครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย

6.1.7.9 โครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS (HS 42)

              ผลการดำเนินการโครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS

              หลักฐานประกอบโครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS

6.1.7.10 โครงการการจัดการความรู้ (HS 44)

               ผลการดำเนินการโครงการการจัดการความรู้ 

               หลักฐานประกอบโครงการการจัดการความรู้ 

6.1.7.11 โครงการอาจารย์ประเมินตนเอง (HS 45)

              ผลการดำเนินการโครงการอาจารย์ประเมินตนเอง

              หลักฐานประกอบโครงการอาจารย์ประเมินตนเอง

8. นำผลการประเมินการปฏิบัติงานมาใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตร

หลักสูตรได้มีการจัดทำแผนพัฒนา (Improvement Plan) เพื่อใช้สำหรับการบริหารจัดการหลักสูตร

The​ Program​ has set an improvement plan for program management. 

หลักฐาน 6.1.8.1 Improvement Plan 

6.1.8.2 Study Visit Plan

9. คณาจารย์ ผู้เรียน และชุมชน ร่วมกันสร้างประสบการณ์การเรียนรู้

หลักสูตรมีการจัดทำโครงการบริการวิชาการที่ให้นักศึกษา อาจารย์ และชุมชนได้ทำกิจกรรมร่วมกันโดยนำทักษะความรู้ ความสามารถของหลักสูตรไปสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ชุมชน

The​ ​Program​ organized an academic service project for students, instructors and the community jointly participated, bringing knowledge and skills of the program to create new learning experience for the community.

หลักฐาน : 6.1.9.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการ

                  6.1.9.2 โครงการบริการวิชาการ (HS 27)

                                ผลการดำเนินการโครงการบริการวิชาการ

                                หลักฐานประกอบโครงการบริการวิชาการ

                  6.1.9.3 โครงการ Academic Camp (HS 21)

                               ผลการดำเนินการโครงการ Academic Camp

                               หลักฐานประกอบโครงการ Academic Camp

                 6.1.9.4 โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

                                ผลการดำเนินการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ

                                หลักฐานประกอบศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ

10.  คณาจารย์บูรณาการศิลปะและวัฒนธรรม ในการจัดการเรียนรู้

หลักสูตรได้มีการพัฒนาแผนการเรียนการสอน โดยนำศิลปวัฒนธรรมเข้ามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน

The program integrated art and culture in the learning and teaching. 

 

หลักฐาน 6.1.10.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

                  6.1.10.2 โครงการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน (HS34)

                                ผลการดำเนินการโครงการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
…5 ข้อ… IQA(1-10) 1,2,4,5,6,7,9,10 ….8…ข้อ …5..คะแนน
AUN-QA(1-8) 1,2,4,6,7 ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.1.1 6.1.1.1 แผนการพัฒนาบุคลากรของคณะ

6.1.1.2 คู่มือบุคลากร

6.1.1.3 แผนปฏิบัติการประจำปี

6.1.2 6.1.2.1 แผนการพัฒนาบุคลากรของคณะ

6.1.2.2 คู่มือบุคลากร

6.1.3 6.1.3.1 การประชุมบุคลากรประจำปี

6.1.3.2 Peer Observation

6.1.3.3 Review Exam Paper

6.1.3.4 Students Evaluation

6.1.4 6.1.4.1 คู่มือบุคลากร

6.1.4.2 แผนปฏิบัติการโครงการ 2565

6.1.4.3 Happy Workplace Index

6.1.5 6.1.5.1 ผลการประเมินนักศึกษาประเมินอาจารย์

6.1.5.2 ผลการประเมินอาจารย์ประเมินตนเอง

6.1.5.3 Peer Observation

6.1.6 6.1.6.1 แผนพัฒนาบุคลากร

6.1.6.2 รายงานการประชุมของคณะ

6.1.6.3 คู่มือบุคลากร

6.1.6.4 การประชุมบุคลากรประจำปี

6.1.6.5 การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่

6.1.7 6.1.7.1 โครงการอบรมอาจารย์ใหม่ (HS 11)

              ผลการดำเนินการโครงการอบรมอาจารย์ใหม่

              หลักฐานประกอบโครงการอบรมอาจารย์ใหม่

6.1.7.2 โครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ (HS 09)

              ผลการดำเนินการโครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ

             หลักฐานประกอบโครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ

6.1.7.3 โครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์ (HS 10)

             ผลการดำเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์

             หลักฐานประกอบโครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์

6.1.7.4 โครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ (HS 12)

             ผลการดำเนินการโครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ 

             หลักฐานประกอบโครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ 

6.1.7.5 โครงการ Student Achievement Verification (HS 13)

             ผลการดำเนินการโครงการ Student Achievement Verification

             หลักฐานประกอบโครงการ Student Achievement Verification

6.1.7.6 โครงการทุนวิจัย (HS 23)

              ผลการดำเนินการโครงการทุนวิจัย

              หลักฐานประกอบโครงการทุนวิจัย

6.1.7.7 โครงการทุนสนับสนุนการตีพิมพ์ (HS 24)

             ผลการดำเนินการโครงการทุนสนับสนุนการตีพิมพ์

             หลักฐานประกอบโครงการทุนสนับสนุนการตีพิมพ์

6.1.7.8 โครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย (HS 25)

             ผลการดำเนินการโครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย

             หลักฐานประกอบโครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย

6.1.7.9 โครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS (HS 42)

              ผลการดำเนินการโครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS

              หลักฐานประกอบโครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS

6.1.7.10 โครงการการจัดการความรู้ (HS 44)

               ผลการดำเนินการโครงการการจัดการความรู้ 

               หลักฐานประกอบโครงการการจัดการความรู้ 

6.1.7.11 โครงการอาจารย์ประเมินตนเอง (HS 45)

              ผลการดำเนินการโครงการอาจารย์ประเมินตนเอง

              หลักฐานประกอบโครงการอาจารย์ประเมินตนเอง

6.1.8 6.1.8.1 Improvement Plan 

6.1.8.2 Study Visit Plan

6.1.1.9 6.1.9.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการ

6.1.9.2 โครงการบริการวิชาการ (HS 27)

              ผลการดำเนินการโครงการบริการวิชาการ

              หลักฐานประกอบโครงการบริการวิชาการ

6.1.9.3 โครงการ Academic Camp (HS 21)

              ผลการดำเนินการโครงการ Academic Camp

               หลักฐานประกอบโครงการ Academic Camp

6.1.9.4 โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ (HS 29)

              ผลการดำเนินการศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ

              หลักฐานประกอบศูนย์ความเป็นเลิศด้านภาษาอังกฤษ

6.1.1.10 6.1.10.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

6.1.10.2 โครงการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน (HS34)

                ผลการดำเนินการโครงการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 คุณวุฒิปริญญาเอก

ผลการดำเนินการ

หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 5 คน

คำนวณ ร้อยละของอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก = (5/5)*100 = 100

           คะแนนที่ได้ = (100/20)*5 = 25  = 5 คะแนน

 

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) อาจารย์ปริญญาเอก 5คน/อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 5 คน ร้อยละ 100 5 คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

 

รหัสหลักฐาน รายการ
6.2.1.1 CV ของ รศ. ดร. บุญเรือง ชื่นสุวิมล
6.2.1.2 CV ของ ผศ.ดร.อุบล ธเนศชัยคุปต์
6.2.1.3 CV ของ Dr. Arellado Ma Arlen Forro
6.2.1.4 CV ของ Dr.Mark Anthony Cenas Pa-Alisbo
6.2.1.5 CV ของ Dr. Philip Amos

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ผลงานวิจัยตีพิมพ์

การกำหนดค่าถ่วงน้ำหนักตามระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ ดังนี้

ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ
0.20 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
0.40 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
-ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร
0.60 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2
0.80 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
1.00 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
-ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตร
-ผลงานวิจัยการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
-ผลงานค้นพบพันธุ์พืช  พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
-บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ

ผลการดำเนินการ

ในปีการศึกษา 2565 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ จำนวน .4… เรื่อง 

1.Percentage of weighted sum of academic outputs = (3/5)*100 = 60
2.Received score = (60 / 20)*5 = 5 คะแนน

 

ตารางแสดงข้อมูลผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ ประจำปีการศึกษา 2565

 

No. Title Name of the Lecturer Name of Journal Index Weight
1 Business English Internship in Thailand: A Case Study of St Theresa International College Students Boonruang Chunsuvimol

Ma. Arlen Forro Arellado

Ampon Dhamacharoen

Journal of Higher Education Theory and Practice, 22(9), 524-533

 

(Aug 2022)

Scopus

Q4

1.00
2 Effectiveness of the project-based learning in developing English communicative proficiency of Thai first year students in the quality assurance network of private international higher education institutions Philip Amos

Dario Abdullah Mando

Md Abdus Salam Buncha Panacharoensawad

Journal of Higher Education Theory and Practice,22(9), 513-523

(Aug 2022)

Scopus Q4 1.00
3 Factors of Thai Graduates’ Competencies Influencing Thailand’s Capability to Become a Medical Hub Ubon Dhanesschaiyakupta Arunwaratchaya Bayolsineesayom

Vipa Pengsa-ium

Jitrapun Pusapukdepob Ampon Dhamacharoen

Journal of Higher Education Theory and Practice,22(9), 534-545

(2022)

Scopus

Q4

1.00
4

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 5 คน ร้อยละ60 5คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

 

 

รหัสหลักฐาน รายการ
6.3.1.1 ตารางสรุปผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเอง IQA AUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 …5… …3…
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 …5…
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 …5…
คะแนนเฉลี่ย …5.00

Leave a Reply