องค์ประกอบที่ 6 คณาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 คุณภาพคณาจารย์ (คุณภาพของบุคลากรสายวิชาการ)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-7 ข้อ 8-10 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-8 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. วางแผนด้านบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม

การดำเนินการ

  1. หลักสูตรมีการประชุมวางแผนในการดำเนินการบริหารหลักสูตรร่วมกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณ์มาตรฐานของ สกอ. และมาตรฐานหลักสูตร โดยมีวาระสำคัญดังนี้

                 1.1 ปัญหาและดำเนินการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของปีการศึกษาที่ผ่านมา

                 1.1 การจัดตารางสอน ตารางสอบ ของแต่ละรายวิชาในกลุ่มวิชา

                 1.2 แผนพัฒนาการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของนักศึกษา

                 1.3 แผนงานการทำงานภายในหลักสูตรตามปฏิทินของวิทยาลัย

                 1.4 แผนเสนอและจัดทำโครงการต่างๆภายในหลักสูตรให้สำเร็จตามเป้าหมาย

  1. หลักสูตรประชุมและมอบหมายงานภายในหลักสูตรตามปฏิทันของวิทยาลัย
  2. หลักสูตรมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
  3. หลักสูตรมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตร
  4. หลักสูตรกำกับ ติดตามการดำเนินการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของปีการศึกษาที่ผ่านมา
  5. หลักสูตรทำการประชุมและประเมินผลเพื่อนำไปพัฒนากลไกการบริหารอาจารย์
  6. หลักสูตรร่วมประชุมและนำผลการประเมินเป็นข้อมูลในการพัฒนระบบและกลไกการบริหารอาจารย์ในภาคการศึกษาต่อไป

หลักฐาน

6.1.1.1 รายงานการประชุมสาขา ครั้งที่ 1/2565

2. มีการควบคุมปริมาณงานเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพของงาน

การดำเนินการ

  1. หลักสูตรมีการประชุมวางแผนในเรื่องอัตรากำลังของอาจารย์ในหลักสูตรให้สอดคล้องกับเกณฑ์

มาตรฐานหลักสูตร โดยคำนึงถึงปัจจัยด้านต่างๆในหลักสูตรดังต่อไปนี้

               1.1 ภาระงานของอาจารย์ในหลักสูตรที่เหมาะสมกับงานในหลักสูตร

               1.2 จำนวนอาจารย์ที่เพียงพอสำหรับรายวิชาที่เปิดสอน

               1.3 หาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและมีประสบการณ์ในสายอาชีพ

  1. หลักสูตรประชุมและมอบหมายงานภายในหลักสูตรตามปฏิทันของวิทยาลัย
  2. หลักสูตรมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

              3.1 จัดทำรายรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา

              3.2 จัดทำ curriculum mapping โดยการมีส่วนร่วมของอาจารย์ทุกกลุ่มวิชา

              3.3 กำหนดให้ทุกรายวิชาดำเนินการจัดทำ มคอ.3 มคอ.4 และ มอค.5 มคอ.6

              3.4 วางแผนในการรวบรวมข้อมูลเพื่อสรุปผลการดำเนินงานของหลักสูตรตาม มคอ.7

             3.5 จัดทำ มคอ.3,4,5,6

  1. หลักสูตรมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตร

             4.1 ให้เป็นอาจารย์ผู้สอนในแต่ล่ะวิชาที่ได้รับมอบหมายจากประธานสาขาวิชา/หัวหน้าสาขาวิชา

             4.2 จัดทำ มคอ.3/4 และดำเนินการจัดการเรียนการสอนให้เป็นแผนการสอน

             4.3 จัดทำ มคอ.5/6 และประเมินผลการจัดการเรียนการสอนพร้อมกำหนดแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นในปีการศึกษาถัดไป

             4.4 ปฏิบัติงานตามภารกิจด้านการสอน งานวิจัย งานบริการวิชาการ งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทยและงานประกันคุณภาพการศึกษา

            4.5 ให้ความร่วมมือในการดำเนินงานของหลักสูตรต่อประธานหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้บริหารของคณะ

  1. หลักสูตรกำกับ ติดตามการดำเนินการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของปีการศึกษาที่ผ่านมา
  2. หลักสูตรทำการประชุมและประเมินผลเพื่อนำไปพัฒนากลไกการบริหารอาจารย์
  3. หลักสูตรร่วมประชุมและนำผลการประเมินเป็นข้อมูลในการพัฒนระบบและกลไกการบริหารอาจารย์ในภาคการศึกษาต่อไป

หลักฐาน

6.1.2.1 รายงานการประชุมสาขา ครั้งที่ 1/2565

6.1.2.2 คู่มือบุคลากร

3. กำหนดสมรรถนะ มีการประเมินผล และมีการสื่อสารให้ทราบ

การดำเนินการ

  1. หลักสูตรกำหนดคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตามมาตรฐานเกณฑ์หลักสูตรและคุณสมบัติอื่นๆดังนี้
  • ปริญญา นิเทศศาตร์มหาบัณฑิต หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
  • มีประสบการณ์ด้านการสอนและประสบการณ์สาขาวิชาชีพ
  • มีคุณวุฒิตรงกับสาขาหลักในหลักสูตร
  • มีงานวิจัยที่ภายใน 2 ปี
  • มีทักษะภาษาอังกฤษ สามาถสื่อสารภาษาอังกฤษและสอนเป็นภาษาอังกฤษได้

2.หลักสูตรแจ้งไปยังฝ่ายทรัพยากรบุคคล

3.ฝ่ายบุคคลแจ้งข้อมูลคุณสมบัติลงประกาศรับสมัครของวิทยาลัย

หลักฐาน

6.1.3.1 คู่มือบุคลากร
6.1.3.2 TQF 2

 

4. บุคลากรสายวิชาการมีจำนวน และ มีภาระหน้าที่ที่เหมาะสม

การดำเนินการ

หลักสูตรได้มีการกำหนดและวางแผนงานให้กับอาจารย์และบุคลากรตามทักษะ ความรู้ ความสามารถตามความถนัดและเหมาะสมของหลักสูตร

หลักฐาน

6.1.4.1 แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร

 

5. มีระบบประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรม และเกี่ยวข้องกับงาน

การดำเนินการ

หลักสูตรมีการประเมินผลโดยยึดตามระเบียบของวิทยาลัยที่มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรมและเกี่ยวข้องกับงาน ได้กำหนดการประเมินบุคลากรสายวิชาการ ดังนี้

  1. การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ หมายถึง การประเมินภาระงาน เพื่อพิจารณาการต่อสัญญาจ้าง ได้กำหนดหลักเกณฑ์ให้ครอบคลุม 4 พันธกิจ คือ งานวิชาการ งานวิจัย งานบริการวิชาการ และงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
  2. การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับอาจารย์ใหม่ จะมีการประเมินการทดลองการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรใหม่ และการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี
  3. การประเมินการสอนของอาจารย์ ทางคณะฯได้จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน และทางคณะได้ใช้กระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในระดับหลักสูตรเพื่อทบทวนและประเมินการสอนของอาจารย์ให้เป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนด

 โดยแบบทวนสอบที่คณะจัดทำขึ้น จะพิจารณาถึงความสอดคล้องของผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรและผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับกระบวนวิชา

 รวมถึงสอดคล้องของผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับกระบวนวิชากับวิธีการสอนและวัดประเมินผล อีกส่วนพิจารณาถึงผลสะท้อนกลับว่าผู้เรียนบรรลุตามผลลัพธ์ที่กำหนดหรือไม่ จากวิธีการสอนและวิธีการประเมินของผู้สอน แบบทวนสอบผลสัมฤทธิ์

ทั้งนี้ ทางหลักสูตรได้มีการประเมินการสอนของอาจารย์โดยมีการประเมินอาจารย์โดยนักศึกษา และให้อาจารย์ประเมินการสอนของ

ตนเอง

  หลักฐาน

6.1.5.1 คู่มือบุคลากร

 

 

6. กำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ชัดเจน และทำความเข้าใจให้ทุกคนทราบ

การดำเนินการ

  หลักสูตรได้มีการกำหนดหน้าที่ และภาระงานของแต่ละคนอย่างชัดเจน ตามที่ระบุไว้ในแผนบริหารและพัฒนาบุคลากร โดยทางหลักสูตรได้มีการประชุมวางแผนและชี้แจงรายละเอียดต่อบุคลากรสายวิชาการ

หลักฐาน

6.1.6.1 รายงานการประชุม

6.1.6.2 แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร

 

 

7. กำหนดและวางแผนพัฒนา ตามความต้องการของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ

การดำเนินการ

  1. หลักสูตรกำหนดนโยบายให้อาจารย์ทุกคนเพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
  • เข้าร่วมอบรม สัมมนาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพและความรู้จากทั้งภายในและภายนอก พัฒนาทักษะต่างๆเพื่อนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ที่จะสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในระดับองค์กร
  • ผลิตผลงานวิชาการ(งานวิจัยและวิชาการ)และตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ
  • การพัฒนาตำแหน่งวิชาการและส่งเสริมการขอตำแหน่งทางวิชาการ
  • การบริการวิชาการให้กับคณะต่างๆในวิทยาลัยและชุมชน
  • การลาศึกษาต่อเพื่อเพิ่มคุณวุฒิทางการศึกษา
  1. อาจารย์นำเสนอแผนการพัฒนาตนเองตามความต้องการในด้านต่างๆข้างต้น
  2. หลักสูตรเห็นชอบแผนการพัฒนาตนเองของอาจารย์
  3. หลักสูตรนำแผนต่าง ๆของคณาจารย์ในหลักสูตรเสนอต่อคณะวิชาเพื่อการเห็นชอบ และคณะวิชา

ดำเนินการจัดทำแผน ที่เป็นภาพรวมของคณะในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์

5.อาจารย์ขออนุมัติไปดำเนินการตามแผนที่นำเสนอและได้รับความเห็นชอบจากคณะ ผ่านหัวหน้าหลักสูตร

คณบดีและวิทยาลัยเป็นลำดับ

  1. อาจารย์ดำเนินการตามแผนที่ได้รับอนุมัติ

7.อาจารย์จัดทำรายงานการดำเนินการและประเมินผลการทำกิจกรรมต่างๆที่ได้รับอนุมัติเสนอต่อหลักสูตร

และคณะในการพัฒนาและนำความรู้มาสู่การเรียนการสอน

8.หลักสูตรประเมินผลการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์และนำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงในการ

กำหนดนโยบายในปีการศึกษาต่อไป

หลักฐาน

6.1.7.1 แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร

6.1.7.2 โครงการอบรมอาจารย์ใหม่ (HS 11)

6.1.7.3 โครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ (HS 09)

6.1.7.4 โครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์ (HS 10)

6.1.7.5 โครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ (HS 12)

6.1.7.6 โครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย (HS 25)

6.1.7.7 โครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS (HS 42)

6.1.7.8 โครงการการจัดการความรู้ (HS 44)

6.1.7.9 โครงการอาจารย์ประเมินตนเอง (HS 45)

 

8. นำผลการประเมินการปฏิบัติงานมาใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตร

การดำเนินการ

หลักสูตรได้นำผลการประเมินตนเองในการปฏิบัติงาน ของปี 2564 มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาส่งเสริมจุดเด่นให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น อีกทั้งนำมาใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

หลักฐาน

6.1.8.1 รายงานการประเมินตนเองระดับหลักสูตร (SAR)  ปี 2564

 

 

9. คณาจารย์ ผู้เรียน และชุมชน ร่วมกันสร้างประสบการณ์การเรียนรู้

การดำเนินการ

  1. หลักสูตรมีการประชุมวางแผนเพื่อนำรายวิชามาบูรณาการโครงการเพื่อให้เกิดประโยชณ์ในด้านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถนำทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี กลุ่มทักษะชีวิตอาชีพ ทักษะการทำงานเป็นทีมนำไปต่อยอดและเกิดประโยชน์ต่อชุมชน จึงเลือกรายวิชาที่สามารถนำมาบูรณาการ โครงการได้ดังนี้

– การคิดรูปแบบรายการโทรทัศน์ Creative Design of Television Programs

– การคิดรูปแบบรายการโทรทัศน์เบื้องต้น Basic Television Program Creative

– การเตรียมงานก่อนสร้างภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ Pre-production Process of Film and Television

– การออกแบบแสงและเสียง Lighting and Sound Design
– การตัดต่อเพื่องานภาพยนตร์และโทรทัศน์ Film and Television Editing
– องค์ประกอบศิลป์ Compositions of Arts
– งานเขียนเชิงสร้างสรรค์สำหรับงานสื่อสารมวลชน Creative Writing for Mass Communication – การออกแบบสื่อสารมวลชน Mass Communication Design
– ถ่ายภาพดิจิทัล Digital Photography
– การพูดในงานสื่อ Speech for Mass Communication
– กาสื่อสารทางวัฒนธรรม Inter-cultural Communication
– งานสารคดี Documentary Production

  1. หลักสูตรได้ดำเนินการเขียนแผนงานโครงการการจัดการเรียนรู้เชิงการบูรณาการการเรียนและนำเสนอเห็น ชอบกับทางวิทยาลัย

– โครงการนครนายกชาแนล
– โครงการบูรณาการงานบริการวิชาการกับรายวิชาในคณะ
3. หลักสูตรมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบโครงการกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อดำเนินการตามแผนงาน โครงการให้สำเร็จ
4. หลักสูตรดำเนินงานตามแผนงานโครงการ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและนักศึกษา เขียนบท ถ่ายทำ และ ตัดต่อ และส่งผลงานให้กับหลักสูตร

    4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวางแผนระยะเวลาดำเนินงานการผลิต และงบประมาณการผลิต

    4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรกำหนดหัวข้อที่ตรงกับโครงการบูรณาการ

    4.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมอบหมายงานแก่นักศึกษา

    4.4 นักศึกษาดำเนินการหาข้อมูล เขียนบท

    4.5 นักศึกษานำเสนอข้อมูลและบทต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อพิจารณาหรือแก้ไข

    4.6 นักศึกษาวางแผนและเตรียมงานก่อนการถ่ายทำ

    4.7 นักศึกษาดำเนินการถ่ายทำตามแผน

    4.8 นักศึกษาดำเนินการตัดต่อ

    4.9 นักศึกษาส่งวีดีโอร่างที่ 1 ให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อพิจารณาแก้ไข

    4.10 นักศึกษาจัดเก็บและสำรองข้อมูลวีดีโอฉบับสมบูรณ์ก่อนส่งมอบเพื่อนำไปเผยแพร่
5. หลักสูตรสรุปผลและประเมินการดำเนินงานในโครงการต่างๆและรายงานผลการดำเนินงาน นำเสนอต่อคณะ และวิทยลัยตามลำดับ
6. หลักสูตรพัฒนาปรับปรุง โดยการนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนงานการจัดการเรียนรู้ เชิงการบูรณาการการเรียนกับพันธกิจอื่น

หลักฐาน

6.1.9.1โครงการบูรณาการงานบริการวิชาการกับรายวิชาในคณะ

6.1.9.2 โครงการนครนายกชาแนล

 

 

10.  คณาจารย์บูรณาการศิลปะและวัฒนธรรม ในการจัดการเรียนรู้

การดำเนินการ

  1. หลักสูตรมีการประชุมวางแผนเพื่อนำรายวิชามาบูรณาการโครงการเพื่อให้เกิดประโยชณ์ในด้านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถนำทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี กลุ่มทักษะชีวิตอาชีพ ทักษะการทำงานเป็นทีมนำไปต่อยอดและเกิดประโยชน์ต่อชุมชน จึงเลือกรายวิชาที่สามารถนำมาบูรณาการ โครงการได้ดังนี้

– การคิดรูปแบบรายการโทรทัศน์ Creative Design of Television Programs

– การคิดรูปแบบรายการโทรทัศน์เบื้องต้น Basic Television Program Creative

– การเตรียมงานก่อนสร้างภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ Pre-production Process of Film and Television

– การออกแบบแสงและเสียง Lighting and Sound Design
– การตัดต่อเพื่องานภาพยนตร์และโทรทัศน์ Film and Television Editing
– องค์ประกอบศิลป์ Compositions of Arts
– งานเขียนเชิงสร้างสรรค์สำหรับงานสื่อสารมวลชน Creative Writing for Mass Communication – การออกแบบสื่อสารมวลชน Mass Communication Design
– ถ่ายภาพดิจิทัล Digital Photography
– การพูดในงานสื่อ Speech for Mass Communication
– กาสื่อสารทางวัฒนธรรม Inter-cultural Communication
– งานสารคดี Documentary and Mockumentary

  1. หลักสูตรได้ดำเนินการเขียนแผนงานโครงการการจัดการเรียนรู้เชิงการบูรณาการการเรียนและนำเสนอเห็น ชอบกับทางวิทยาลัย

– โครงการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน

  1. หลักสูตรมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบโครงการกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อดำเนินการตามแผนงาน โครงการให้สำเร็จ
    4. หลักสูตรดำเนินงานตามแผนงานโครงการ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและนักศึกษา เขียนบท ถ่ายทำ และ ตัดต่อ และส่งผลงานให้กับหลักสูตร

4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวางแผนระยะเวลาดำเนินงานการผลิต และงบประมาณการผลิต

    4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรกำหนดหัวข้อที่ตรงกับโครงการบูรณาการ

    4.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมอบหมายงานแก่นักศึกษา

    4.4 นักศึกษาดำเนินการหาข้อมูล เขียนบท

    4.5 นักศึกษานำเสนอข้อมูลและบทต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อพิจารณาหรือแก้ไข

    4.6 นักศึกษาวางแผนและเตรียมงานก่อนการถ่ายทำ

    4.7 นักศึกษาดำเนินการถ่ายทำตามแผน

    4.8 นักศึกษาดำเนินการตัดต่อ

    4.9 นักศึกษาส่งวีดีโอร่างที่ 1 ให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อพิจารณาแก้ไข

    4.10 นักศึกษาจัดเก็บและสำรองข้อมูลวีดีโอฉบับสมบูรณ์ก่อนส่งมอบเพื่อนำไปเผยแพร่
5. หลักสูตรสรุปผลและประเมินการดำเนินงานในโครงการต่างๆและรายงานผลการดำเนินงาน นำเสนอต่อคณะ และวิทยลัยตามลำดับ
6. หลักสูตรพัฒนาปรับปรุง โดยการนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนงานการจัดการเรียนรู้ เชิงการบูรณาการการเรียนกับพันธกิจอื่น

หลักฐาน

6.1.10.1 โครงการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน

6.1.10.2 โครงการบูรณาการงานบริการวิชาการกับรายวิชาในคณะ

 

 

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
…5 ข้อ… IQA(1-10) 1,2,3,9,10 ….5…ข้อ …4..คะแนน
AUN-QA(1-8) 1(4), 2(4), 3(4) ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.1.1 6.1.1.1 รายงานการประชุมสาขา ครั้งที่ 1/2565
6.1.2 6.1.2.1 รายงานการประชุมสาขา ครั้งที่ 1/2565

6.1.2.2 คู่มือบุคลากร

6.1.3 6.1.3.1 คู่มือบุคลากร
6.1.3.2 TQF 2
6.1.4 6.1.4.1 แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร
6.1.1.5 6.1.5.1 คู่มือบุคลากร
6.1.1.6 6.1.6.1 รายงานการประชุม

6.1.6.2 แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร

6.1.1.7 6.1.7.1 แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร

6.1.7.2 โครงการอบรมอาจารย์ใหม่ (HS 11)

6.1.7.3 โครงการคลินิกการเขียนข้อสอบ (HS 09)

6.1.7.4 โครงการพัฒนาศักยภาพทางการสอนของอาจารย์ (HS 10)

6.1.7.5 โครงการอบรมสัมมนาคณาจารย์ภายใน/ภายนอกสถานที่ (HS 12)

6.1.7.6 โครงการอบรมการเขียนบทความทางวิชาการและงานวิจัย (HS 25)

6.1.7.7 โครงการบริหารงานฐานข้อมูลในระบบ MIS (HS 42)

6.1.7.8 โครงการการจัดการความรู้ (HS 44)

6.1.7.9 โครงการอาจารย์ประเมินตนเอง (HS 45)

6.1.1.8 6.1.8.1 รายงานการประเมินตนเองระดับหลักสูตร (SAR)  ปี 2564
6.1.1.9 6.1.9.1โครงการบูรณาการงานบริการวิชาการกับรายวิชาในคณะ

6.1.9.2 โครงการนครนายกชาแนล

6.1.1.10 6.1.10.1 โครงการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน

6.1.10.2 โครงการบูรณาการงานบริการวิชาการกับรายวิชาในคณะ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 คุณวุฒิปริญญาเอก

ผลการดำเนินการ

หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 2 คน

คำนวณ ร้อยละของอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก = (2/5)*100 = 40

           คะแนนที่ได้ = (40/20)*5 = 10  = 5 คะแนน

 

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) อาจารย์ปริญญาเอก 2 คน/อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 5 คน ร้อยละ 40 5 คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.2.1.1 CV ผศ.ดร.บุญทิวา นาคะตะ

CV ดร.ปริศนา กัมพูสิริ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ผลงานวิจัยตีพิมพ์

การกำหนดค่าถ่วงน้ำหนักตามระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ ดังนี้

ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ
0.20 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
0.40 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
-ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร
0.60 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2
0.80 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
1.00 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
-ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตร
-ผลงานวิจัยการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
-ผลงานค้นพบพันธุ์พืช  พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
-บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ

ผลการดำเนินการ

ในปีการศึกษา 2565 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ จำนวน .2… เรื่อง 

  1. ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงาน = (ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด)*100

= (2/5)*100

= 40

2. คะแนนที่ได้ = ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ร้อยละผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม5)*5

= (40/5)*5 = 5 คะแนน

 

ตารางแสดงข้อมูลผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ ประจำปีการศึกษา 2565

 

No. Title Name of the Lecturer Name of Journal Index Weight
1 The Effect of Social Media use on the Well-Being of the Thai Elderly in the Bangkok Metropolitan Region, Thailand Chiratana Kreewongse Tanawadee Kangnoi Somporn Naklang Pornthip Layanan Social Evolution and History ,11(9),51-59

(2022)

Scopus

Q4

1.00
2 FACTORS INFLUENCING THE BRAND BUILDING OF THAI UNIVERSITIES IN

THE ERA OF DIGITAL DISRUPTION

Chiratana Kreewongse

Apichaya Chuepan Malee Dhamasiri

Panida Klosawasdi

Journal of Higher Education Theory and Practice,22(9), 559-567

(Aug 2022)

Scopus

Q2

1.00

 

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ) การประเมินตนเอง
ร้อยละ… IQA(1) ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 5 คน ร้อยละ 40 5 คะแนน
AUN-QA(ไม่มี) ไม่มี ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

 

รหัสหลักฐาน รายการ
6.3.1.1 FACTORS INFLUENCING THE BRAND BUILDING OF THAI UNIVERSITIES IN

THE ERA OF DIGITAL DISRUPTION

6.3.1.2 The Effect of Social Media use on the Well-Being of the Thai Elderly in the Bangkok Metropolitan Region, Thailand

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเอง IQA AUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 …5… …3…
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 …5…
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 …4…
คะแนนเฉลี่ย 4.67

Leave a Reply