ข้อเสนอแนะการดำเนินการ(ปีการศึกษา 2564)

ผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2564

StandardQuality IndicatorsAssessment ResultsAssessment Level
Component 1Regulatory Standards PassPass
Component 2Graduates 3.13 Good
Component 3Students 2.69 Fair
Component 4Instructors 4.17 Very Good
Component 5Curriculum, Learning Management and Learning Support Resources 3.75 Good
Overall Average Score3.52 Good

Note IF Score>4 = “Very Good” , Score>3 = “Good” , Score>2 =”Fair” and Score>=0 = “Need Improve”

       ผลดำเนินการในการประกันคุณภาพภายใน หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) คณะกรรมการพบว่ามีจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในภาพรวมดังนี้
จุดเด่น
       1. อาจารย์มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการทำงานสูง
       2. อาจารย์มีผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติฐานข้อมูล SCOPUS
       3. อาจารย์ดูแลเอาใจใส่และให้คำปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์แก่นักศึกษาเป็นอย่างดี
จุดควรพัฒนา
       1. ส่งเสริมให้อาจารย์พัฒนาเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
       2. ปรับกลยุทธ์ในการรับนักศึกษาให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย

การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามรายมาตรฐาน

       การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2564 ของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามมาตรฐานของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา (STIC-QA) พ.ศ. 2561 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีดังนี้
มาตรฐานที่ 1 : ด้านการกำกับมาตรฐาน
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 2 : ด้านบัณฑิต
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 3 : ด้านนักศึกษา
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
1. ปรับกลยุทธ์ในการรับนักศึกษาให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 4 : ด้านอาจารย์
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม
 1. อาจารย์มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการทำงานสูง
 2. อาจารย์มีผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติฐานข้อมูล SCOPUS
 3. อาจารย์ดูแลเอาใจใส่และให้คำปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์แก่นักศึกษาเป็นอย่างดี
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
 1. ส่งเสริมให้อาจารย์พัฒนาเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 5 : ด้านหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม
 1. มีการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยเป็นไปตามมาตรฐานสภาวิชาชีพ
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
 1. ส่งเสริมให้หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบธนาคารหน่วยกิต หรือจัดแบบ re-skill และ up-skill

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

Leave a Reply