ข้อเสนอแนะการดำเนินการ(ปีการศึกษา 2564)

ผลการดำเนินการในปีการศึกษา 2564

Standard

Quality Indicators

Assessment Results

Assessment Level

Component 1

Learner Outcome

4.17

Good

Component 2

Research and Innovation

4.67

Very Good

Component 3

Academic Services

5

Very Good

Component 4

Arts and Culture and Thainess

5

Very Good

Component 5

Administration and Management

4.50

Good

Overall Average Score

4.52

Very Good

Note IF Score>4 = “Very Good” , Score>3 = “Good” , Score>2 =”Fair” and Score>=0 = “Need Improve”

       ผลดำเนินการในการประกันคุณภาพภายใน ระดับคณะวิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะกรรมการพบว่ามีจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในภาพรวมดังนี้
จุดเด่น

  1. อาจารย์มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (SCOPUS)
  2. อาจารย์มีศักยภาพในการขอทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกเป็นจำนวนมาก
  3. การบริหารจัดการด้านคุณภาพการศึกษาของทุนหลักสูตรดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  4. คณะมีเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนในการบริการวิชาการและบูรณาการกับการเรียนการสอน    อย่างชัดเจน

จุดควรพัฒนา

  1. ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิขาการเพิ่มขึ้นตามแผนพัฒนารายบุคคล
  2. เร่งรัดการเตรียมความพร้อมด้านสมรรถภาพภาษาอังกฤษของนักศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
  3. นำผลการวิเคราะห์การดำเนินการมาใช้ประโยชน์ เช่น การประเมินผลกระทบจากงานวิจัย และการบริหารความเสี่ยง

การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามรายมาตรฐาน

       การสะท้อนผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2564 ของคณะสาธารณสุขศาสตร์ ตามมาตรฐานของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา (STIC-QA) พ.ศ. 2561 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีดังนี้
มาตรฐานที่ 1 : ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

  1. อาจารย์ในคณะมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. คณะมีกิจกรรมการเตรียมความพร้อมและพัฒนานักศึกษาที่หลากหลาย เป็นการเสริมสร้างผลลัพธ์ผู้เรียน

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

  1. เร่งรัดการเตรียมความพร้อมด้านสมรรถนะภาษาอังกฤษของนักศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 2 : ด้านการวิจัยและนวัตกรรม

จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

  1. อาจารย์มีผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (SCOPUS)
  2. อาจารย์มีศักยภาพในการขอทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกเป็นจำนวนมาก

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

  1. นำผลการวิเคราะห์การดำเนินการมาใช้ประโยชน์ เช่น การประเมินผลกระทบจากงานวิจัย

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรมผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 3 : ด้านการบริการวิชาการ

จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

  1. คณะมีเครือข่ายความร่วมมือกับชุมขนในการให้บริการวิชาการและบูรณาการกับการเรียนการสอนอย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

 มาตรฐานที่ 4 : ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น

มาตรฐานที่ 5 : ด้านการบริหารจัดการ

จุดแข็ง/ประเด็นที่ชื่นชม

  1. การบริหารจัดการด้านคุณภาพการศึกษาของทุกหลักสูตรดีขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นที่ประจักษ์

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

  1. นำผลการวิเคราะห์การดำเนินการมาใช้ประโยชน์ในการบริหารความเสี่ยง

การปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม/ผลงานที่โดดเด่น