องค์ประกอบที่ 9 ผลผลิตและผลลัพธ์

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ผลการจัดการศึกษา (ผลผลิตและผลลัพธ์)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

หลักสูตรมีการเก็บรวบรวมข้อมูล กำกับ และเทียบเคียงมาตรฐาน อัตราการสอบผ่าน อัตราการตกออก เพื่อการปรับปรุงคุณภาพ โดยปัจจุบันหลักสูตรมีจำนวนนิสิตที่สอบผ่านและสำเร็จการศึกษา ดังนี้ (9.1.1.1)

ตารางข้อมูลการคงอยู่ของนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ปีการศึกษาที่รับเข้า

จำนวนนักศึกษา

แรกเข้า

จำนวนนักศึกษา (จำนวนจริง) ในแต่ละการศึกษา      

จำนวน นศ.ย้ายเข้า

จำนวนนักศึกษาปัจจุบัน

2561

2562

2563

2564

2565

2561 (รหัส18)

11

11

(100%)

11

(100%)

11

(100%)

11

(100%)

5

16

2562 (รหัส19)

7

7

(100%)

7

(100%)

7

(100%)

7

(100%)

0

7

2563 (รหัส20)

6

6

(100%)

5

(83%)

5

(83%)

0

5

2564 (รหัส21)

5

5

(100%)

5

(100%)

0

5

2565 (รหัส22)

5

5

(100%)

0

5

รวม (2562-2565)

23

7

13

17

22

0

22

 ผลการดำเนินงานของหลักสูตรในปีการศึกษา 2565 พบว่า

         – จำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ 4 (รหัส19)        = 7  คน

         -จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา                     = 7  คน

          – คิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ทั้งหมด

2. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการอิสระ และการศึกษาต่อของผู้เรียน

หลักสูตรมีระบบฐานข้อมูลของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาและติดตามความก้าวหน้าหลังสำเร็จการศึกษาเพื่อทราบการมีงานทำและเพื่อการสอบถามคุณภาพของบัณฑิตจากผู้ประกอบการ อีกทั้งนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้มีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการและได้จัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้แก่สถานประกอบการ และทางหลักสูตรได้จัดให้มีการประเมินผลงานของนักศึกษาโดยสถานประกอบการเมื่อนักศึกษาสำเร็จการฝึกฯเพื่อทางหลักสูตรจะได้นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงในปีถัดไป (9.1.1.2)

3. มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุง เกี่ยวกับการวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน

หลักสูตรมีการวางแผนด้านการวิจัยและนวัตกรรมและประชุมติดตามการทำงานวิจัยและนวัตกรรมของอาจารย์ตั้งแต่ก่อนเปิดปีการศึกษาเพื่อทราบความต้องการในการทำวิจัยและนวตักรรมของอาจารย์ รวมถึงการสนับสนุนส่งเสริมให้งบประมาณจากแหล่งทุนต่างๆ และมีการติดตามความก้าวหน้าการทำวิจัยเป็นระยะๆทุกไตรมาสของปีการศึกษาเพื่อให้ทราบผลก่อนสิ้นสุดปีการศึกษาและส่งผลการดำเนินงานไปให้ฝ่ายวิจัยของวิทยาลัย ในส่วนของนักศึกษาทางหลักสูตรได้จัดให้นักศึกษาเรียนรายวิชา 921 122 Research Methodology in Occupational Health and Safety เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระเบียบวิธีการวิจัยและสามารถศึกษาวิจัยได้ในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น(9.1.1.3)

4. มีระบบกำกับติดตามข้อมูล ที่แสดงความสำเร็จของหลักสูตรตามเป้าหมายที่กำหนด

ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯ มีกระบวนการจัดการเพื่อให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามหลักเกณฑ์ที่วิทยาลัยฯ กำหนด โดยมีการวางแผนการศึกษา ตลอดหลักสูตรฯ การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การให้บริการให้คำปรึกษาแก่ นักศึกษาและการเตรียมความพร้อมเพื่อรับการทดสอบวัดสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ และการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการตามสมรรถนะของหลักสูตร ฯ  ได้มีการกำหนดการจัดสัมมนาวิชาชีพของนักศึกษาปีสุดท้ายก่อนสำเร็จการศึกษาเพื่อวัดทักษะและสมมรถนะในวิชาชีพของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย (9.1.1.4)

5. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

หลักสูตรฯ มีกระบวนการสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียผ่าน กระบวนการสัมภาษณ์และระบบออนไลน์ โดยหลักสูตรฯ ดำเนินการรวบรวมความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อนำความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียมาทำการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ตรงกับความต้องการ โดยมีผลการประเมินดังต่อไปนี้

หลักสูตรมีผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายต่อการบริหารหลักสูตรซึ่งในปีการศึกษา 2565 มีนิสิตประเมินจำนวน 7 คนพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารหลักสูตรอยู่ในระดับดี โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 จาก 5

ลำดับ

รายการประเมิน

(n=7)

คะแนนเต็ม

1

การบริหารหลักสูตรของอาจารย์

4.00

5

2

การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

4.14

5

3

ผลลัพธ์การเรียนรู้จากการศึกษาในหลักสูตร

4.29

5

4

ความรู้ความสามารถของอาจารย์ผู้สอน

4.43

5

5

สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

4.14

5

6

วิธีการการวัดประเมินผลการเรียน

4.14

5

7

ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวของผู้เรียน

4.29

5

รวมคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด= 4.20

 ทางหลักสูตรมีผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ ในการบริหารหลักสูตร การจัดการศึกษาพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจ ในโปรแกรมการศึกษาตลอดหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 อยู่ในระดับดี โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 จาก 5    ดังรายละเอียดนี้

ลำดับ

รายการประเมิน

(n=15)

คะแนนเต็ม

1

การบริหารหลักสูตรของอาจารย์

4.07

5

2

การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

4.13

5

3

ผลลัพธ์การเรียนรู้จากการศึกษาในหลักสูตร

3.73

5

4

ความรู้ความสามารถของอาจารย์ผู้สอน

4.13

5

5

สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

4.07

5

6

วิธีการการวัดประเมินผลการเรียน

3.73

5

7

ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวของผู้เรียน

4.13

5

รวมคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด= 4.00

 ทางหลักสูตรมีผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยคณะสาธารณสุขศาสตร์ ในการบริหารหลักสูตร การจัดการศึกษาพบว่ามีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 อยู่ในระดับดี โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.09 จากคะแนนเต็ม 5   ดังรายละเอียด

ลำดับ

รายการประเมิน

(n=5)

คะแนนเต็ม

1

หลักสูตรมีความทันสมัย และรายวิชามีความหลากหลาย

4.00

5

2

กระบวนการกำกับและติดตาม มคอ.3/4

4.00

5

3

กระบวนการกำกับและติดตาม มคอ.5/6

4.20

5

4

การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

4.20

5

5

การพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ จาก มคอ.7 ปีที่แล้ว

4.00

5

6

การพัฒนาวิชาการ/วิชาชีพของบุคลากร

4.20

5

7

ความร่วมมือและความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่นที่มีความเกี่ยวข้องกันอย่างเหมาะสม

4.00

5

รวมคะแนนเฉลี่ยทั้งหมด= 4.09

และทางหลักสูตรมีผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ปี 2565 ถึงหน่วยงานของผู้ใช้บัณฑิตเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจเฉลี่ยในภาพรวม 3 ด้านอยในเกณฑ์ดี โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.98 จากคะแนนเต็ม 5.00

     ด้านที่ 1 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงาน

รายการประเมิน

คะแนนเต็ม

ค่าเฉลี่ย

N=5

1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ

 

 

1.1 มีวินัยตรงต่อเวลา

5.00

3.80

1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต

5.00

3.80

1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ

5.00

4.00

1.4 แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมและถูกกาลเทศะ

5.00

3.80

1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม

5.00

4.20

รวม

5.00

3.92

2. ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ    

 

 

2.1 มีความรู้เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สัมพันธ์กับงานที่ปฏิบัติ

5.00

3.40

2.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือและสามารถใช้เครื่องมือที่จำเป็นในการทำงานได้

5.00

3.60

2.3 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงานที่ปฏิบัติได้

5.00

3.60

2.4 มีความสามารถสื่อสาร/ถ่ายทอดและสรุปรายงานผลการปฏิบัติได้

5.00

4.00

2.5 สามารถนำข้อมูลจากรายงานมาปรับปรุงพัฒนางานได้

5.00

3.60

                                      รวม

5.00

3.64

3. ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน    

 

 

3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ

5.00

4.40

3.2 มีความสามารถในการวางแผนและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ

5.00

4.40

3.3 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม

5.00

3.60

3.4 สามารถใช้ข้อมูลการวิเคราะห์/สังเคราะห์ ตัดสินใจในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม

5.00

3.60

3.5 มีความสามารถเสนอแนะและให้เหตุผลในการปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น

5.00

3.60

รวม

5.00

3.92

4. ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานและความรับผิดชอบ

 

 

4.1 มีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี

5.00

4.00

4.2 มีความสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในกลุ่มได้

5.00

4.20

4.3 มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นทั้งภายในละภายนอกองค์กร

5.00

4.20

4.4 ทำงานที่ได้รับหมายหมายให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด

5.00

4.00

4.5 รับผิดชอบต่อผลที่เกิดจากการดำเนินการ ตลอดจนเร่ง แก้ไข ในกรณีที่มีข้อผิดพลาด

5.00

4.20

รวม

5.00

4.12

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี

 

 

5.1 มีความสามารถใช้ข้อมูลจากการทำงานมาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบเพื่อพัฒนางานได้

5.00

3.80

5.2 สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์

5.00

3.80

5.3 สามารถสื่อสารให้เกิดความร่วมมือในการทำงาน

5.00

4.20

5.4 มีความสามารถในการนำเสนอข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

5.00

3.60

5.5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานตนเอง

5.00

4.40

รวม

5.00

3.96

เฉลี่ยรวม

5.00

3.91

          ด้านที่ 2 ความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตในด้านผลลัพธ์ของผู้เรียน

รายการประเมิน

คะแนนเต็ม

ค่าเฉลี่ย

N=5

1. ด้านเป็นบุคคลที่รอบรู้

 

 

1.1 เป็นผู้สนใจใฝ่เรียนรู้สิ่งใหม่ๆอยู่เสมอ

5.00

3.60

1.2 นำการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆมาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

5.00

3.60

1.3 เรียนรู้การทำงานในองค์กร เพื่อให้งานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จตามที่กำหนด

5.00

3.60

1.4 ประเมินผลการปฏิบัติของตนเองเพื่อหาข้อที่ควรพัฒนาได้

5.00

3.60

1.5 นำผลการประเมินตนเองมาพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง

5.00

4.00

รวม

5.00

3.68

2. ความคิดสร้างสรรค์

 

 

2.1 มีความสามารถใช้วิธีการใหม่ในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ

5.00

4.20

2.2 สามารถเสนอวิธีการใหม่ๆใช้ในการแก้ไขปัญหาได้

5.00

3.60

2.3 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานใหม่/นวัตกรรมในการทำงาน

5.00

3.60

2.4 มีความคิดรึเริ่มพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง

5.00

3.60

2.5 ผลงานที่เกิดจากการพัฒนางาน ได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงาน

5.00

4.00

รวม

5.00

3.80

 

3. ด้านความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง

 

 

3.1 เป็นผู้ที่ยึดมั่นความถูกต้องในการทำงาน ให้เป็นไปตามจริยธรรมทางวิชาชีพ

5.00

4.40

3.2 รู้คุณค่าและรักษาว้ฒนธรรมที่ดีขององค์กร

5.00

4.40

3.3 ร่วมมือกับผู้อื่นในการทำงานอย่างสร้างสรรค์

5.00

4.00

3.4 ร่วมทำกิจกรรมกับชุมชนและสังคมด้วยจิตอาสา

5.00

4.20

3.5 เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

5.00

4.40

รวม

5.00

4.28

เฉลี่ยรวม

5.00

3.92

ด้านที่ 3 ความพึงพอใจต่อบัณฑิตในด้านภาษาอังกฤษและทักษะศตวรรษที่ 21

รายการประเมิน

คะแนนเต็ม

ค่าเฉลี่ย

N=5

1. ด้านภาษาอังกฤษ

 

 

1.1 สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้

5.00

3.80

1.2 สามารถศึกษาเอกสาร/คู่มือ/วิธรการปฏิบัติงานที่เป็นภาษาอังกฤษขององค์กรได้

5.00

3.80

1.3 สามารถศึกษาค้นคว้า และรายงานผลการปฏิบัติงานเป็นภาษาอังกฤษได้

5.00

3.80

1.4 นำเสนอผลงานการดำเนินการต่อที่สาธารณะเป็นภาษาอังกฤษได้

5.00

3.80

1.5 ปรับปรุงเอกสาร/คู่มือ/วิธีการปฏิบัติที่เป็นภาษาอังกฤษได้

5.00

3.80

รวม

5.00

3.80

2. ด้านทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

 

 

2.1 มีทักษะการคิดเชิงบวกในการทำงาน

5.00

4.60

2.2 มีทักษะการคิดเชิงวิพากษ์กับผู้ร่วมงาน

5.00

4.40

2.3 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์

5.00

4.00

2.4 สามารถเสนอแนะทางใหม่ๆในการแก้ไขปัญหาในการทำงานได้

5.00

4.00

2.5 มีผลงานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่เกิดจากการทำงาน

5.00

4.40

รวม

5.00

4.28

3. ด้านทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี

 

 

3.1 ใช้สารสนเทศในการพัฒนางานของตนเอง

5.00

3.80

3.2 ใช้สื่อดิจิทัลในการพัฒนางานได้

5.00

4.00

3.3 ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนางานได้

5.00

4.00

3.4 ใช้สารสนเทศขององค์กรในการทำงานได้

5.00

3.80

3.5 ใช้ข้อมูลจากระบบ MIS ในการแก้ปัญหาได้

5.00

4.00

รวม

5.00

3.92

4. ด้านทักษะชีวิตอาชีพ

 

 

4.1 สามารถปรับต้วให้เข้ากับการทำงานในองค์กรได้

5.00

4.40

4.2 มีความยืดหยุ่นในการทำงานให้ประสบความสำเร็จ

5.00

4.80

4.3 มีความรึเริ่มในการพัฒนางานและเรียนรู้ผลการพัฒนาด้วยตนเอง

5.00

4.80

4.4 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงานทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ

5.00

4.40

4.5 มีความเป็นผู้นำในการผลิตงานได้อย่างต่อเนื่อง

5.00

4.00

รวม

5.00

4.48

เฉลี่ยรวม

5.00

4.12

เฉลี่ยรวมทุก 3 ด้าน

5.00

3.98

6. มีผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ/การทำประโยชน์ให้ท้องถิ่นและสังคม

หลักสูตรกำหนดแผนการบริการวิชาการชุมชนเป็นประจำทุกปีในรูปแบบการให้บริการวิชาการต่างๆ มีการประชุมติดตามเป็นระยะๆเพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางที่ให้การบริการทางวิชาการแก่ชุมชนสำเร็จตามแผนและวัตถุประสงค์ ตลอดจนการประเมินผลภายหลังการให้บริการวิชาการที่ส่งผลถึงการพัฒนาท้อง/ชุมชนที่ให้บริการ ซึ่งในปีการศึกษา 2565 ทางหลักสูตรได้จัดทำโครงการบริการวิชาการด้านอาชีวอนามัยแก่ชุมชน โดยจัดให้มีการสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหรืออันตรายทางอาชีพเกษตรกรรม ผลการดำเนินโครงการพบว่าชาวบ้านในชุมชนมีระดับความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.25 ซึ่งจัดอยู่ระดับดีมาก

7. มีผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

 หลักสูตรกำหนดแผนการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมเป็นประจำทุกปี มีการประชุมติดตามเป็นระยะๆเพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางที่ให้การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมสำเร็จตามแผนและวัตถุประสงค์ ตลอดจนการประเมินผลภายหลังการการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม ในปีการศึกษา 2565 ทางหลักสูตรได้มีการดำเนินโครงการด้านศิลปะและวัฒนธรรมทั้ง หมด 2 โครงการ คือ 1) โครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมนานาชาติ 2) โครงการสืบสานวัฒนธรรมไทย (วันสงกรานต์) โดยมีผลการสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยที่ 4.02

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

…5 ข้อ…

IQA(1-7)

….5…ข้อ

…4..คะแนน

AUN-QA(1-5)

ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐานรายการ
9.1.1.1ข้อมูลการคงอยู่ของนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
9.1.1.2โครงการเพื่อแก้ไขปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและแบบประเมินนักศึกษาของพี่เลี้ยงแหล่งฝึกงาน
9.1.1.31. แผนงานวิจัย
2. 921 122 Research Methodology in Occupational Health and Safety
3. รายงานการประชุมของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ครั้งที่ 3
9.1.1.4 1.แผนการศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ปี
2.โครงการสัมมนาวิชาชีพ
3.การทดสอบ Real-Toeic
9.1.1.51.ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายต่อการบริหารหลักสูตร
2.ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา/อาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตร
3.ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
9.1.1.6แผนการบริการวิชาการชุมชนและโครงการบริการวิชาการ
9.1.1.7แผนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและโครงการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่างๆ

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 คุณภาพบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต = 3.98

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

คะแนนเฉลี่ย 3.51

IQA(1)

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต

= 3.98

ผู้ตอบร้อยละ 35.7

3.98 คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.2.1.1ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 การมีงานทำ/ผลงานวิจัยตีพิมพ์ของบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

การได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

  1. ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ = (จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ/จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทั้งหมด) *100
  2. คะแนนที่ได้ = (ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ/100) *5

  1. คำนวณร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำจากการสำรวจ = (5/5)*100

                                                              = 100

  1. คำนวณค่าคะแนน

    ค่าคะแนน= (100/100)*5

                 = 5 คะแนน

ตารางแสดงการได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

รายการจำนวน
1. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด14
2. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา5
3. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ)5
4. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ
5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา
6. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา
7. เงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ (ค่าเฉลี่ย)
8. ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)3.98
9. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว
10. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท
11. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ 100

IQA(1) ปริญญาตรี

จำนวนผู้มีงานทำใน 1 ปี/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ 92.86

5 คะแนน

ปริญญาโท/เอก

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ –

– คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.3.1.1ข้อมูลการได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 9.153
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 3.98
ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 5
คะแนนเฉลี่ย4.66

Leave a Reply