องค์ประกอบที่ 2 ผลลัพธ์การเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1  ผลลัพธ์การเรียนรู้ (ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. กำหนดและสื่อสาร ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

          สาขาวิชา กำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับ PLO ด้วยการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการพัฒนาหลักสูตร และทวนสอบกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอีกครั้งผ่านการวิพากษ์หลักสูตร หลังจากหลักสูตรได้รับการเห็นชอบจาก สป.อว. ได้สื่อสารให้กับคณาจารย์ และนักศึกษาทราบผ่านการประชุม และสื่อสารให้กับ คณาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปผ่านช่องทางหน้าเว็บไซด์ของคณะ 

2. ออกแบบผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้

           การออกแบบผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง ตาม PLO ประกอบด้วย 6 ด้าน คือคุณธรรมจริยธรรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และทักษะด้านการจัดการเรียนรู้ โดยแต่ละรายวิชาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จำลอง การเรียนรู้แบบเชิงรุก(Active learning)  โดยกระบวนการเรียนการสอนทุกรายวิชาเน้น Learning by doing และ Research base Learning และการฝึกปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง

หลักฐาน

1) TQF 3 จำนวน 9 รายวิชาที่สอนในปีการศึกษา 2565(G-Dip Thai 2.1-2-01)

3. ระบุผลลัพธ์การเรียนรู้ทั่วไป และผลลัพธ์การเรียนรู้เฉพาะทาง

            แต่ละรายวิชา มีการระบุผลลัพธ์การเรียนรู้ อย่างชัดเจน ทั้งผลลัพธ์การเรียนรู้แบบทั่วไป และผลลัพธ์การเรียนรู้เฉพาะทาง และมีการกำหนดแนวทางการประเมินผลความสำเร็จตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ ชัดเจนทุกรายวิชาโดยกำหนดกรอบการประเมินทั้งรายวิชาด้วย Evaluation Blueprint และ Test Blueprint  อีกทั้งมีการประเมิน PLO ของหลักสูตร ป.บัณฑิตไทย ตามการรับรู้ของนักศึกษา ศิษย์เก่า และผู้ใช้บัณฑิต 

หลักฐาน

1) TQF 3 จำนวน 9 รายวิชาที่สอนในปีการศึกษา 2565(G-Dip Thai  2.1-3-01)

4. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังบรรลุตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                ได้ทำการประเมินหลักสูตร ดำเนินการประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังว่าบรรลุตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต โดยการตอบแบบประเมินหลักสูตรตามการรับรู้ของศิษย์เก่าพบว่า ผลการประเมินส่วนของสิ่งที่ได้รับที่เป็นพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงตามความคาดหวัง(Behavior) มีผลการเรียนรู้เป็นไปตามความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับมาก (Mean=4.40 S.D.=.60) 

หลักฐาน

1) เอกสารรายงานวิจัยประเมินหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 (G-DIP THAI 2.1-4-01)

5. ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง บรรลุผลกับผู้เรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา

         ได้ทำการประเมินหลักสูตร ดำเนินการประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังว่าบรรลุตามความต้องการของใช้บัณฑิต โดยการตอบแบบประเมินหลักสูตรตามการรับรู้ของศิษย์เก่าพบว่า มีผลสัพธ์ที่เกิดต่อองค์กรของผู้เรียน อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้สำเร็จ(Results) พบว่า โดยรวมมีผลการประเมินระดับ มาก(Mean=4.26 S.D.=.59)                                     หลักฐาน

1) เอกสารรายงานวิจัยประเมินหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 (G-DIP THAI 2.1-4-01)

6. ผลการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ ทักษะ จริยธรรม และลักษณะบุคคล ของนักศึกษา(กลุ่มตัวอย่างทุกชั้นปี) สูงกว่า 3.51

       ได้ทำการประเมินหลักสูตร ดำเนินการประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทั้ง 6 ด้าน คือคุณธรรมจริยธรรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และทักษะด้านการจัดการเรียนรู้ โดยการตอบแบบประเมินหลักสูตรตามการรับรู้ของศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน และผู้ใช้บัณฑิต พบว่า มีผลการเรียนรู้เป็นไปตามความคาดหวังประสิทธิผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับหน่วยงาน/สถานศึกษา/องค์กร (Results) พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินโดยมีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4.35 (SD.=0.55) ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตรทั้ง 4 ด้านสูงกว่าเกณฑ์ตัดสินความสำเร็จที่กำหนด (3.50 ระบบคะแนนเต็ม 5.00)                                       หลักฐาน

1) เอกสารรายงานวิจัยประเมินหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 (G-DIP THAI 2.1-4-01)

7. ผลการประเมินผลการเรียนรู้เฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน สูงกว่า 3.51

         ได้ทำการประเมินหลักสูตร ดำเนินการประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทั้ง 6 ด้าน คือคุณธรรมจริยธรรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และทักษะด้านการจัดการเรียนรู้ โดยการตอบแบบประเมินหลักสูตรตามการรับรู้ของศิษย์เก่าศิษย์ปัจจุบันและผู้ใช้บัณฑิต พบว่า มีผลการเรียนรู้เป็นไปตามความคาดหวัง มีค่าเฉลียรวม อยู่ในระดับดี ประสิทธิผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับหน่วยงาน/สถานศึกษา/องค์กร (Results) พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินโดยมีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4.35 (SD.=0.55) ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตรทั้ง 4 ด้านสูงกว่าเกณฑ์ตัดสินความสำเร็จที่กำหนด (3.50 ระบบคะแนนเต็ม 5.00)  

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

….5ข้อ….

IQA(1-7)

1,2,3,4,5,6,7

….7…ข้อ

…5.คะแนน

AUN-QA(1-5)

1,2,3,4,5(4)

ระดับ……4…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐานรายการ
2.1.1.1 TQF 3 จำนวน 9 รายวิชาที่สอนในปีการศึกษา 2565(G-Dip Thai 2.1-2-01)
2.1.1.2 เอกสารรายงานวิจัยประเมินหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 (G-DIP THAI 2.1-4-01)
2.1.1.3 เว็บไซด์ของคณะ

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1…5……4…

Leave a Reply