IQA SCORE 2562-2564 AND SUGGESTION OF IQA 2564

ผลการประเมินคุณภาพภายในคณะศึกษาศาสตร์ 3 ปีล่าสุด คือ ปี 2562 2563 และ 2564 โดยคณะได้ถือเอาคะแนนผลการประเมิน ปี 2564 เป็นฐานคุณภาพสำคัญ(ฺBaseline) ในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาในปี 2565(1 มิถุนายน 2565- 31 พฤษภาคม 2566) ที่ทุกคนมีค่านิยมร่วมกันว่า “คุณภาพการจัดการศึกษาต้องดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง(Continuous Growth)”

ผลการประเมินคุณภาพภายในคณะศึกษาศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 ถึง 2564 ปรากฏดังตารางต่อไปนี้

Factors and IndicatorsEvaluated
Score
(2562)
Evaluated
Score
(2563)
Evaluated
Score
(2564)
  Factor 1: production of the
graduate
4.31 4.60 4.60
1.1Average quality of all Program
(6-7 Program)
4.014.20 4.40
1.2Faculty members with doctorate qualifications ,Faculty members hold academic positions, Number of full-time
students per lecturer
4.504.61 4.68
1.3Undergraduate Student Activities,
Services for Undergraduate Students
5.005.00 5.00
1.4Results about student Development3.754.59 4.27
Factor 2 : Research4.945.00 5.00
2.1Systems and mechanisms for managing & developing research and
creative work.
5.005.00 5.00
2.2Research funding4.835.00 5.00
2.3Academic work and Researchers5.005.00 5.00
Factor 3 : Academic Services5.005.00 5.00
3.1Academic service to society5.005.00 5.00
Factor 4: Art & Culture
Development
5.005.00 5.00
4.1Systems and mechanisms for preserving arts and culture5.005.00 5.00
Factor 5 :  Management System4.504.50 4.50
5.1Management System of the faculty to monitor the mission and the identity of the Institution5.004.00 4.00
5.2Monitoring System for Quality Assurance  of any Educational Program4.005.00 4.50
Average Score( Total Score/No.of
Indicators)
4.64 4.76 4.76

ผลการประเมินปีการศึกษา 2562-2564 ในภาพรวม  ผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก ทุกปีการศึกษา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และรักษาระดับในปี 2564 โดยมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับจุดที่ควรพัฒนาและจุดเด่นในปีสุดท้าย(2564) ดังต่อไปนี้

จุดเด่น : ที่ควรพัฒนาสู่การเป็นนวัตกรรมต้นแบบในโอกาสต่อไป

  1. ผลการประกันคุณภาพระดับหลักสูตรมีแนวโน้มที่ดีอย่างต่อเนื่อง
  2. มีการบูรณาการโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากภายนอกกับการวิจัย บริการทางวิชาการ และ ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  3. มี e-portfolio ของอาจารยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนของนักศึกษาทุกด้าน เช่น ด้านการสอน การทำวิจัยและผลงาน

จุดที่ควรปรับปรุง/พัฒนา : เพื่อการพัฒนาในปี 2565

  1. ส่งเสริมให้มีผลงานทางวิชาการที่เป็นนวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ใหม่ๆ มากขึ้น อย่างเป็นรูปธรรม เช่น ตำรา หลักสูตรอบรมระยะส้ัน หรือโมเดลการทำวิจัย โดยมีการเผยแพร่ทาง YouTube Channel เป็นต้น
  2. เร่งรัดให้มีการบริหารจัดการความเสี่ยงของคณะที่มีประสิทธิผลเช่น จำนวนนักศึกษาแรกเข้าไม่เป็นไปตามแผน อัตราการสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทตามเวลาที่กำหนดหนด เป็นต้น
  3. ส่งเสริมให้มีการประเมินสมรรถนะชั้นปีของนักศึกษาปริญญาตรีที่เชื่อมโยงกับระบบ e-portfolio ของนักศึกษา รวมถึงการประเมินสมรรถนะด้านการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา

—————————————-

Evidences:

>>>SAR of Faculty of Education 2564<<

>>รายงานสรุปผลการประเมินโดยคณะกรรมการ<<<