องค์ประกอบที่ 9 ผลผลิตและผลลัพธ์

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ผลการจัดการศึกษา (ผลผลิตและผลลัพธ์)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

            หลักสูตรติดตามให้นักศึกษาที่ศึกษาในหลักสูตรได้สำเร็จการศึกษาภายในเวลาที่กำหนด โดยผ่านระบบอาจารย์ที่ปรึกษา และพิจารณาแนวทางส่งเสริมสนับสนุนหรือช่วยเหลือให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาในกำหนดเวลา หรือช่วยแก้ไขปัญหาให้นักศึกษาเพื่อไม่ให้นักศึกษาออกกลางคัน หลักสูตรรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์นักศึกษาในหลักสูตรในด้านผลการเรียน ระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษาเพื่อการไขปัญหาการศึกษาเกินเวลาที่กำหนด และนำไปเทียบเคียงกับหลักสูตรเหมือนกันในสถาบันอื่น

2. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการอิสระ และการศึกษาต่อของผู้เรียน

            หลักสูตรโดยคณะศึกษาศาสตร์มีระบบฐานข้อมูลของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา และติดตามความก้าวหน้าหลังสำเร็จการศึกษาเพื่อทราบการสอบใบประกอบวิชาชีพ และเพื่อการสอบถามคุณภาพของบัณฑิตจากผู้ประกอบการ และส่งผลไปให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องของวิทยาลัย

3. มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุง เกี่ยวกับการวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน

                  หลักสูตรมีการวางแผนด้านการวิจัยและนวัตกรรมและประชุมติดตามการทำงานวิจัยและนวัตกรรมของอาจารย์ตั้งแต่ก่อนเปิดปีการศึกษาเพื่อทราบความต้องการในการทำวิจัยและนวัตกรรมของอาจารย์ รวมถึงการสนับสนุนส่งเสริมให้ของบประมาณจากแหล่งทุนต่างๆ และมีการติดตามความก้าวหน้าการทำวิจัยเป็นระยะๆทุกไตรมาสของปีการศึกษาเพื่อให้ทราบผลก่อนสิ้นสุดปีการศึกษา และส่งผลการดำเนินงานไปให้ฝ่ายวิจัยของวิทยาลัย

4. มีระบบกำกับติดตามข้อมูล ที่แสดงความสำเร็จของหลักสูตรตามเป้าหมายที่กำหนด

       หลักสูตรมีระบบฐานข้อมูลการดำเนินงานด้านต่างๆของหลักสูตร ประกอบด้วย แผนและเป้าหมายการดำเนินงานด้านต่างๆตามพันธกิจของอุดมศึกษา ผลการดำเนินงานต่างๆ มีการประเมินหลักสูตรประจำปี นำมาวิเคราะห์ผลสำเร็จ และเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป

5. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

              ทุกปีการศึกษา หลักสูตรมีการประเมินหลักสูตร มีการสอบถามความพึงพอใจของภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรทั้งในส่วนของอาจารย์ นักศึกษา บัณฑิต ผู้ประกอบการและผู้ใช้บัณฑิต เพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงคุณภาพของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง

6. มีผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ/การทำประโยชน์ให้ท้องถิ่นและสังคม

                 หลักสูตรกำหนดแผนการบริการวิชาการชุมชนเป็นประจำทุกปีในรูปแบบการให้บริการวิชาการต่างๆ โรงเรียนในพื้นที่ มีโครงการมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงมีการประเมินโครงการและการประชุมติดตามเป็นระยะๆเพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางที่ให้การบริการทางวิชาการแก่โรงเรียนและชุมชนสำเร็จตามแผนและวัตถุประสงค์ ตลอดจนการประเมินผลภายหลังการให้บริการวิชาการที่ส่งผลถึงการพัฒนาท้องถิ่น/ชุมชนที่ให้บริการ

7. มีผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

           หลักสูตรโดยคณะศึกษาศาสตร์ กำหนดแผนการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมเป็นประจำทุกปี โดยให้นักศึกาาเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษาต้นสังกัดและนำมาสะสมในแฟ้มสะสมงานรายบุคคลที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของนักศึกษาของโรงเรียนในสังกัด มีการประชุมติดตามเป็นระยะๆเพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางที่ให้การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมสำเร็จตามแผนและวัตถุประสงค์ ตลอดจนการประเมินผลภายหลังการการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

…5 ข้อ…

IQA(1-7)

1,2,3,6,7

….5…ข้อ

…4..คะแนน

AUN-QA(1-5)

                       1,2,3,6,7 (4)

ระดับ……4…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐานรายการ
9.1.1.1 List of Graduates
MIS System Student Profile
Student Learning Record
9.1.1.2รายการจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา
9.1.1.3 การวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน
9.1.1.4 รายการจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา
9.1.1.5บทความวิจัยประเมินหลักสูตร
9.1.1.6โครงการ U – School ,
โครงการผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น การบริการวิชาการ ทำประโยชน์ให้ท้องถิ่นและสังคม
9.1.1.7ตัวอย่าง E-Portfolio นักศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 คุณภาพบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

N/A

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต

IQA(1)

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต

ผู้ตอบร้อยละ……

N/A คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.2.1.1

ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 การมีงานทำ/ผลงานวิจัยตีพิมพ์ของบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

การได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

  1. ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ = (จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ/จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทั้งหมด) *100
  2. คะแนนที่ได้ = (ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ/100) *5

N/A

ตารางแสดงการได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

รายการจำนวน
1. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด………….
2. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา ………….
3. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ) ………….
4. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ ………….
5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา ………….
6. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ………….
7. เงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ (ค่าเฉลี่ย) ………….
8. ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) ………….
9. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว ………….
10. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท ………….
11. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร ………….

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต

IQA(1) ปริญญาตรี

จำนวนผู้มีงานทำใน 1 ปี/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ-

N/A คะแนน

ปริญญาโท/เอก

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ……

…..คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.3.1.1

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 9.144
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 N/A
ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 N/A
คะแนนเฉลี่ย4

Leave a Reply