องค์ประกอบที่ 9 ผลผลิตและผลลัพธ์

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ผลการจัดการศึกษา (ผลผลิตและผลลัพธ์)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

1.ทางหลักสูตรมีอาจารย์และบุคลากรติดตามเทียบเตียงสมรรถนะตามเกณฑ์ที่ สกอ กำหนด

2. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการอิสระ และการศึกษาต่อของผู้เรียน

          นักศึกษาที่มาเรียนมีงานทำทุกคน

3. มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุง เกี่ยวกับการวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน

1.คณะกรรมการหลักสูตรบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มีฝ่ายนิเทศติดตามเพื่อให้นักศึกษาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรบริหารการศึกษาโดยเทียบเคียงสถาบันที่ผลิตนักศึกษาระดับปริญญาโทสาขาบริหารการศึกษาให้ มีเนื้าหาหลักสูตรสอดคล้องกับกรอบหลักสูตรที่ สกอ กำหนด สมรรถนะในศตวรรษที่ 21 ของนักบริหารการศึกษา

2.ทางคณะกรรมการของหลักสูตรบริหารการศึกษาได้ ออกคำสั่งแต่งตั้ง บุคลากรเพื่อเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการให้คำปรึกษาในการทำวิทยานิพนย์

3.ทางคณะศึกษาศาสตร์ ได้ดำเนินการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาที่เกี่ยวกับทฤษฎีการบริหารการศึกษา ผู้สอนวิชาววิจัย ผู้สอนวิชาเทคโนโลยีเพื่อการบริหารการศึกษาทั้งนี้เพื่อให้ผู้สอนได้พัฒนาสมรรถนะวิชาเชี่ยวชาญเฉพาะ ผ่านการใช้ระบบ Google  Class roomและ ระบบ Moodle LMS Exam 

4. มีระบบกำกับติดตามข้อมูล ที่แสดงความสำเร็จของหลักสูตรตามเป้าหมายที่กำหนด

1.ทางคณะจัดให้มีคณะกรรมการนิเทศติดตาม เพื่อตรวจสอบ การลงระบบข้อมูลผ่าน mis.stic.ac.th 

2.อาจารย์ผู้สอนต้องจัดทำ มคอ 3  ในระบบและลงข้อมูลในระบบให้สมบูรณืก่อนที่จะทำกิจกรรมการเรียนการสอน โดยในรายละเอียดประกอบด้วย คำอธิบายรายวิชา จุดประสงค์การพัฒนาผู้เรียนตามรายวิชาที่กำหนดในหลักสูตรบริหารการศึกษา รายละเอียดการเรียนในแต่ละครั้ง กิจกรรมการเรียนการสอน ชิ้นงาน เอกสารเพื่อประกอบการค้นคว่าหรือเอกสารและสิ่งอ้างอิง รวมทั้งงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับ วิชาในหลักสูตรบริหารการศึกษา

แหล่งอ้างอิ้ง

    สำหรับตรวจสอบการลงข้อมูลในระบบของอาจารย์ผู้สอนลงข้อมูลในระบบเรียบร้อยแล้วและเป็นปัจจุบัน

Teacher
T.Q.F. (Lecturer-Level)
T.Q.F. (Department-Level)
Exam Marks
Attendance?

5. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1.การประขุมสัมมนารับฟัง นโยบายและทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย ก่อนเปิดภาคเรียน เพื่อกระตุ้นการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของอาจารย์เพื่อพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตร 

2. การประชุมสัมมนาทางวิชาการเพื่อทราบการเคลื่อนไหวของทิศทางการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบที่สำนักงานการอุดมศึกษากำหนดหรือเปลี่ยนแปลง โดยท่านคณบดีของคณะศึกษาศาสตร์และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับ รายงานการประกันคุณภาพของสถานทางการศึกษาระดับประเทศชั้นนำที่เปิดหลักสูตรบริหารการศึกษาได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาราชภัฎทุกสถาบันรวมทั้งสถานทางทางศึกษาเอกชน ที่เปิดหลักสูตรบริหารการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเซีย มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ โดยศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษา การส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ การพัฒนาสมรรถนะอาจารย์ ผู้สอน การนำหลักเทคโนโลยีดิจิทัลมาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้กับนักศึกษาได้พัฒนาสมรรถนะทางด้านการบริหารทางการศึกษา ทางการทำวิทยานิพนธ์ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการบริหารการศึกษษที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. มีผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ/การทำประโยชน์ให้ท้องถิ่นและสังคม

7. มีผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

1.ให้การบริการในโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง(U-SCHOOLS MENTORING)แก่ โรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัด นครนายกจำนวน 13 โรงเรียน

2.ให้บริการความรู้ด้านวิจัยแก่ผู้บริหารและครูในโรงเรียนในเขตบริการจังหวัดนครนายก จังหวัปราจีนบุรี

3.ส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาเรียนรู้แหล่งเรียนรู้ต่างๆในสังคมท้องถิ่นและชุมชนได้แก่ การบริการการเกษตรพื้นบ้าน การแยกพันธ์ไม้พื้นเมือง การขยายพันธ์ผลไม้ท้องถิ่น เช่น การแยกหน่อ ตัดต่อกล้วยไม้ป่า การขยายพันธ์ มะยงชิต และ การอุสาหกรรมในครัวเรือนเช่น โรงงานทำกระถางปูน เป็นต้น

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

…5 ข้อ…

IQA(1-7)

1,2,3,6,7

….5…ข้อ

…4..คะแนน

AUN-QA(1-5)

1(4), 2(4), 3(4)

ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐานรายการ
9.1.1.1 ระบบ mis,stic.ac.thระบบ mis.stic.ac.th
9.1.1.2
9.1.1.3รายชื่อหัวข้อวิจัยของนักศึกษา
9.1.1.4รายชื่อนักศึกษา หัวข้อ และที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของตน
9.1.1.5 Graduate survey Form
9.1.1.6 โครงการ U- school
9.1.1.7โครงการ U- school

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 คุณภาพบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

……ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ.

    นักศึกษาที่อยู่ระหว่างการพัฒนาวิทยานิพนธ์ ศึกษาเรียนรู้ในการให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาไปใช้ในการบริหารการศึกษาของโรงเรียนหรือในสถานศึกษาที่ตนสังกัด…..

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ…

IQA(1)

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต

ผู้ตอบร้อยละ……

…..คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.2.1.1 รายชื่อนักศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 การมีงานทำ/ผลงานวิจัยตีพิมพ์ของบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

การได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

  1. ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ = (จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ/จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทั้งหมด) *100
  2. คะแนนที่ได้ = (ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ/100) *5

……แสดงวิธีการคำนวณ..

              1  = (25/25) *100 = 100     

              2. คะแนนที่ได้ = (100/100) *5

                               =  5 

ตารางแสดงการได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

รายการจำนวน
1. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโททั้งหมด….25.
2. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา ………….
3. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ) ………….
4. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่ประกอบอาชีพอิสระ ………….
5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา ………….
6. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ………….
7. เงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ (ค่าเฉลี่ย) .18000
8. ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) 4.00
9. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว มีทุกคน
10. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่อุปสมบท ….ไม่มี..
11. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาโทที่เกณฑ์ทหาร …ไม่มี

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ…

IQA(1) ปริญญาตรี

จำนวนผู้มีงานทำใน 1 ปี/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ……

…..คะแนน

ปริญญาโท/เอก

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ……

…..คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.3.1.1 นักศึกษาอยู่ระหว่างพัฒนาวิทยานิพนธ์

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 9.143
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 N/A
ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 N/A
คะแนนเฉลี่ย43

Leave a Reply