-องค์ประกอบที่ 9 ผลผลิตและผลลัพธ์

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ผลการจัดการศึกษา (ผลผลิตและผลลัพธ์)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการสำเร็จการศึกษา การออกกลางคัน และระยะเวลาเฉลี่ยในการสำเร็จการศึกษา

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……

       หลักสูตรฯวางแผนการดำเนินการเพื่อให้นักศึกษามีความพร้อมทางการเรียน มีอัตราการคงอยู่และสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรสูง รวมทั้งมีความพึงพอใจต่อหลักสูตร ดังนี้
1. ติดตามการรายงานตัวเข้าศึกษา การลงทะเบียน การเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาตลอดปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
2. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการเพื่อให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเรียน การบริหารเวลาในการเรียนแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลตลอดหลักสูตร
3. จัดทำแผนสนับสนุนส่งเสริมการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาตามกระบวนการขั้นตอนการทำวิทยานิพนธ์
4. จัดอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และกำกับติดตามการทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาตามแผนที่วางไว้
5. เปิดช่องทางการสื่อสารระหว่างนักศึกษากับหลักสูตรอย่างหลากหลาย เช่น กลุ่มไลน์ เฟซบุ๊ค อีเมล์ โทรศัพท์ ฯลฯ
6. จัดประชุมกลุ่มนักศึกษา อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อรับฟังความคิดเห็น แก้ปัญหา ให้ข้อเสนอแนะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการเรียน การทำวิทยานิพนธ์ และการบริหารหลักสูตรเป็นระยะ ๆ                                                             

        ในภาคการเศึกษาที่ 2-2565 มีอัตราการคงอยู่ จำนวน 9 คน คิดเป็น 100 เปอร์เซนต์ ผลการเรียนผ่านทุกคน มีความก้าวหน้าในการทำวิทยานิพนธ์  มีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น

2. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการอิสระ และการศึกษาต่อของผู้เรียน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……  

       หลักสูตรฯวางแผนระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับ อัตราการได้งานทำ การเป็นผู้ประกอบการอิสระ และการศึกษาต่อของผู้เรียน ดังนี้

     1. มีการติดตามสัมฤทธิผลของการประกอบอาชีพของดุษฎีบัณฑิตอย่างต่อเนื่องและนำผลที่ได้ย้อนกลับมาปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหน่วยงานโดยองค์การระดับสากล โดยการติดตามผลดุษฎีบัณฑิตดำเนินการโดย
    2. ติดตามบัณฑิตด้านภาวะการมีงานทำหรือการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหน้าที่การงาน โดยประเมินจากบัณฑิตแต่ละรุ่นที่จบการศึกษา ในด้านของระยะเวลาในการหางานทำ ความรู้ ความสามารถ และความมั่นใจของบัณฑิตในการประกอบการงานอาชีพ

               ปีการศึกษา 2565  ยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา 

3. มีระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุง เกี่ยวกับการวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……  

         หลักสูตรฯวางแผนระบบการกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุง เกี่ยวกับการวิจัยและการสร้างสรรนวัตกรรมของบุคลากรและผู้เรียน  คือมีการติดตามสัมฤทธิผลของการประกอบอาชีพของดุษฎีบัณฑิตอย่างต่อเนื่องและนำผลที่ได้ย้อนกลับมาปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหน่วยงานโดยองค์การระดับสากล โดยการติดตามผลดุษฎีบัณฑิตดำเนินการเกี่ยวกับผลงานของนักศึกษาที่วัดเป็นรูปธรรมได้ เช่น จำนวนงานวิจัยที่เผยแพร่ จำนวนรางวัลทางสังคมและวิชาชีพ จำนวนกิจกรรมการกุศลเพื่อสังคมและประเทศชาติ จำนวนกิจกรรมอาสาสมัครในองค์การที่ทำประโยชน์ต่อสังคม เป็นต้น

      เนื่อจากในปีการศึกษา 2565  ยังไม่มีผู้สำดร็จการศึกษา  หลักสูตรได้วางแผนติดตามความก้าวหน้าของการทำวิทยานิพนธ์เพื่อให้นักศึกษาสเร็จการศึกษาในเวลากำหนดโดยได้ให้นักศึกษาส่ง Concept paper ในClassroom  และมีการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร และนักศึกษาเพื่อพิจารณาหัวข้อ  และจัดอาจารย์ที่ปรึกษา  ส่วนในภาคเรียนที่ 2 ของการเรียน คือ ภาคเรียนที่ 1-2566  นักศึกษาจะได้เรียนวิชา 143 302 Individual Study    เพื่อพัฒนาวิทยานิพนธ์ ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา

   สำหรับอาจารย์ประจำหลักสูตร มีการพัฒนาผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัยเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง  อย่างน้อยต้องมีผลงานวิจัยภายในระยะ 5 ปี ต้องมีอย่างน้อย 3 เรื่อง  ซึงจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  อาจารย์มีผลงานต่อเนื่อง 

 

4. มีระบบกำกับติดตามข้อมูล ที่แสดงความสำเร็จของหลักสูตรตามเป้าหมายที่กำหนด

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …… 

5. มีระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……  

        หลักสุตรฯวางแผนระบบกำกับติดตามและเทียบเคียงสมรรถนะ เพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย   ดังนี้

1. ประเมินความพึงพอใจของบัณฑิตต่อความรู้ความสามารถที่ได้เรียนรู้จากหลักสูตรที่สามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

2. ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตหรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีข้อเสนอแนะต่อสิ่งที่คาดหวังหรือต้องการจากหลักสูตรในการนำไปใช้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ     

 3. ความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มาประเมินหลักสูตร หรือ เป็นอาจารย์พิเศษ ต่อความพร้อมของนักศึกษาในการเรียน และสมบัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาองค์ความรู้ของนักศึกษา

6. มีผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ/การทำประโยชน์ให้ท้องถิ่นและสังคม

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …… 

อาจารย์ประจำหลักสูตร มีผลงานการบริการวิชาการ  เผยแพร่ ใน เวปบล็อค เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นักศึกษา อาจารย์ ได้มีส่วนร่วมเรียนรู้ และนำมาพัฒนาหลักสูตร เช่น ส่งเสริมให้อาจารย์ ได้พัฒนาโครงการบริการวิชาการ  การทำวิจัย  หรือนักศึกษาได้มีแนวทางนำผลงานไปพัฒนาสถานศึกษาหรือหน่วยงาน  สถานศึกษาอื่น ได้นำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาสถานศึกษา

 

7. มีผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

…5 ข้อ…

IQA(1-7)

1,2,3,6

….1…ข้อ

…1..คะแนน

AUN-QA(1-5)

1

ระดับ……1…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐานรายการ
9.1.1.1ภาพการประชุม
รายชื่อนักศึกษา
ข้อมูลการวางแผนการทำวิทยานิพนธ์ เช่น รายชื่อหัวข้อวิทยา่นิพนธ์
อาจารย์ที่ปรึกษา
Google Classroom
การเตรียมพร้อมทำวิทยานิพนธ์
9.1.1.2แบบประเมินการได้งานทำ
9.1.1.3ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1-2023
การเตรียมพร้อมทำวิทยานิพนธ์
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ 5 ปีย้อนหลัง
9.1.1.4
9.1.1.5แบบประเมินความพึงพอใจ
9.1.1.6เวปบล็อค รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ คณบดีและอาจารยืประจำหลักสูตร
9.1.1.7

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 คุณภาพบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

……ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ……ยังไม่มีการดำเนินการเนื่องจากยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ…

IQA(1)

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิต

ผู้ตอบร้อยละ……

…..คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.2.1.1

ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 การมีงานทำ/ผลงานวิจัยตีพิมพ์ของบัณฑิต

ผลการดำเนินการ

การได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

  1. ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ = (จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ/จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจทั้งหมด) *100
  2. คะแนนที่ได้ = (ร้อยละบัณฑิตที่ได้งานทำ/100) *5

……แสดงวิธีการคำนวณ…..ยังไม่รับการประเมินเนื่องจากเป็นหลักสูตรใหม่ ยังไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา และเผยแพร่ผลงานวิจัย

ตารางแสดงการได้งานทำหรือประกอบอาชีพภายใน 1 ปี (หลักสูตรระดับปริญญาตรี)

รายการจำนวน
1. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด………….
2. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา ………….
3. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ) ………….
4. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ ………….
5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา ………….
6. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ………….
7. เงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ (ค่าเฉลี่ย) ………….
8. ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) ………….
9. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว ………….
10. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท ………….
11. จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร ………….

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ…

IQA(1) ปริญญาตรี

จำนวนผู้มีงานทำใน 1 ปี/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ……

…..คะแนน

ปริญญาโท/เอก

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ……

…..คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
9.3.1.1

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1…3……1…
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 ……
ตัวบ่งชี้ที่ 9.3 …..
คะแนนเฉลี่ย…3…

Leave a Reply