องค์ประกอบที่ 5 การประเมินผล

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การประเมินผล (การประเมินผู้เรียน)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-6 ข้อ 7-9 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-5 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. การประเมินผู้เรียนสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……มีดังนี้

1.จัดให้มีการประเมินตามสภาพจริง สังเกตพฤติกรรมการเรียน การรายงาน การพัฒนางานต่อเนื่องอย่างสร้างสรรค์

2.อาจารย์ผู้สอนนำเสนอการวัดประเมินผลการเรียน เช่น มีคำถามให้นักศึกษาคิดเคราะห์และตอบเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้โดยอาจารย์เสริมความรู้ให้นักศึกษา

3.อาจารย์ผู้สอนติดตามให้คำปรึกษาในการเรียน การรายงาน การสอน การพัฒนางานวิทยานิพนธ์ต่อเนื่อง

2. มีการประเมินผลและการอุทธรณ์ผลการประเมินที่ชัดเจน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ..มีดังนี้

1.การประเมินผลของอาจารย์ผู้สอน ผ่านการพัฒนางานวิทยานิพนธ์ให้นักศึกษาด้านการแสดงออกด้าน การนำเสนอความรู้ ในทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิทยานิพนธฺ์

2.การประเมินของอาจารย์ประจำวิชาในหลักสูตรบริหารการศึกษา ส่งเสริมนักศึกษาด้านเป็นผู้นำ ดังนั้นในทุกวิชา อาจารย์มอบหมายให้ฝึกประสบการณ์ในการเป็นผู้บริหารในองค์กรด้วยการเป็นผู้นำที่ดี และกลับมานำเสนอรายงานให้เพื่อที่ฝึกประสบการณ์บริหารต่างหน่วยงานเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวคิดที่ดีต่อกัน

          ยังไม่มีการอุทธรณ์ผลการประเมิน

3. มีมาตรฐานและขั้นตอนการประเมินความก้าวหน้า และการสำเร็จการศึกษาของผู้เรียนอย่างชัดเจนและเปิดเผย

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ

  1. นักศึกษารับการปฐมนิเทศจากคณบดีด้าน การวางแผนการเรียน กำหนดเวลาศึกษา ระยะเวลาในการพัฒนางานวิทยาพนธ์ให้ชัดเจน แน่นอน และปฏิบัติตามแผนที่ตนกำหนดไว้ผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา
  2. อาจารย์ประจำวิชาในหลักสูตร จะสอนด้วยวิธีการที่เรียกว่า ACTTIVE LEARNING เพื่อให้นักศึกษาได้ปฎิบัติจริง
  3. นักศึกษานำทฤษฎีความรู้จากที่ศึกษาในวิชาแล้วนำไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และนำมาพัฒนาตนเองให้เป็นผู้บริหารทางการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21
  4. นักศึกษาพัฒนาตนเองให้เป็นผู้บริหารเชิงสมรรถนะ ตามกรอบที่คณะกรรมการการศึกษากำหนดไว้เป็นกรอบในการพัฒนาตนเอง เรียกว่า กรอบสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้บริหารการศึกษา

4. มีวิธีการประเมินผล ที่คลอบคลุม วิธีการ ระยะเวลา เกณฑ์การประเมิน การกระจายค่าน้ำหนักและการตัดเกรด ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นธรรม

       คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ เชิญ คณะกรรมการหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน ประชุมหารือเรื่องการวัดผลประเมินผลให้เป็นไปตามเกกณ์ที่ สกอ กำหนด ดังนี้

  1. วิเคราะห์คำอธิบายยรายวิชาและจุดประสงค์ของวิชา
  2. กำหนดการประเมินใน  3 ด้าน  ได้ 1)ความรู้ตามทฤษฎีบริหาร (ด้านความรู้) 2) ด้านทักษะ ทฤษฎีการบริหารและสมรรถนะในการบริหารใน ศต 21 (P) 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรณวิชาชีพครู(A)
  3. อาจารย์ผู้สอนนำหลักการไปดำเนินการเพื่อพัฒนานักศึกษา ตามกำหนดการใน TQF 3 
  4. อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาด้านการเรียนให้นักศึกษาและบันทึกเสนอคณบดีศึกษาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆให้นักศึกษาเพื่อสามารถกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามโครงสร้างการสอนที่กำหนดไว้

5. มีวิธีการประเมินเพื่อวัดผลสำเร็จของผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตรและรายวิชา

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ .

  1. ติดตามนักศึกษาให้พัฒนาวิทยานิพนธ์ได้เพิ่มเติม
  2. อาจารย์ที่ปรึกษา.ให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ ทั้ง Onsite และ Online….

6. ให้ข้อมูลป้อนกลับกับผู้เรียนที่เหมาะสมกับระยะเวลาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ….

1.นักศึกษาได้พัฒนาวิทยานิพนธ์ต่อเนื่องจำนวนหลายคน

2.คณะศึกษาศาสตร์ สาขาบริหารการศึกษา จัดเวลาให้อาจารย์ที่ปรึกษา วางจากการสอน เพื่อให้คำปรึกษาพิเศษเพื่อให้นักศึกษาที่ว่างจากการทำงานเข้าปรึกษาได้ตลอดเวลา

3.นักศึกษาประเมินการสอนและการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา เพื่อปรับปรุงวิธีการประเมินและนำไปแก้ไขในการสอนครั้งต่อไป

..

7. มีการทบทวนและปรับปรุงการประเมินผลผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …ดังนี้

1.กรณีนักศึกษาที่ลาออก หรือพักการเรียนหรือกลับต่างประเทศไม่เข้ามาทำงานในประเทศไทย ทางเลขาคณะศึกษาศาสตร์และอาจารย์ที่ปรึกษาติดต่อให้ทำเรื่องพักการเรียน หรือแจ้งความประสงค์ว่าจะศึกษาต่อหรือพัฒนาวิทยาพิพนธ์ต่อหรือไม่อย่างไร เพื่อคณะศึกษาศาสสตร์ จะรายงานเสนอผ่านสภาของวิทยาลัยพิจารณาต่อไป

2.ทางสาขา บริหารการศึกษา ได้ทบทวนการสำเร็จหลักสูตรที่ ศึกษา เป็นระยะเวลา 2 ปีและหากยังไม่เสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือไม่พัฒนาวิทยานิพนธ์ต่อเนื่อง ทางวิทยาลัยกำหนดระยะเวลาในการพัฒนาภายในระยะ เวลา 4…ปี  ทางสาขา จะพิจารณานักศึกษาที่มีระยะเวลาการศึกษาเกินกำหนด ให้นักศึกษาทำเรื่องลาออกเพื่อให้ฝ่ายทะเบียนจะได้สรุปยอดคงอยู่ของนักศึกษาเป็นปัจจุบัน

8. มีการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้และการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ดังนี้

    เนื่องจากนักศึกษาในปัจจุบันที่คงอยู่กำลังพัฒนาวิทยานิพนธ์ ที่กำลังพัฒนาอยู่ 13 คน ทางอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาผ่าน หัวข้อวิทยานิพนธ์ และดำเนินแต่งตั้งอาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์เรียบร้อย ขณะกำลังพัฒนาผลงานวิยานิพนธ์ใน บทที่ 1 ถึง บทที่ 3

…..

9. มีการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ตามที่กำหนดในหลักสูตรการศึกษา

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ .ดังนี้

  1. นักศึกษาที่เข้ารับการศึกษาสาขาบริหารการศึกษาที่คงอยู่ กำลังพัฒนางานวิทยานิพนธ์ต่อเนื่อง
  2. เนื่องจากปีที่ผ่านมา เป็นระยะการติดต่อ ของเชื้อ  โควิค 19 ส่งผลให้นักนักศึกษาไม่สามารถเข้ามาเพื่อพัฒนางานวิทยานิพนธ์ได้ต่อเนื่อง…..
  3. การติดตามประสานงานเพื่อให้นักศึกษาที่กำลังพัฒนาวิทยานิพนธ์ ทำสำเร็จในเทอมต่อไปเพื่อให้นํกศึกษาผ่านการประเมินการสำเร็จในหลักสูตรตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในจุดประสงค์ของหลักสูตร

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

 ….9ข้อ….

IQA(1-9)

1,2,3,8,9

….5…ข้อ

…4..คะแนน

AUN-QA(1-7)

1(4), 2(4), 3(4)

ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐานรายการ
5.1.1.1 มคอ.2
คู่มือการจัดทำวิทยานิพนธ์
5.1.1.2
5.1.1.3 รายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
5.1.1.4มคอ.2 กำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล
5.1.1.5 มคอ.2 กำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล
5.1.1.6google classroom ของผู้สอน
Exam Mark ของผู้สอน ในระบ MIS
5.1.1.7ส่วนที่ 6 ของ TQF3 การทวนสอบและปรับปรุงการเรียนรู้
5.1.1.8รายชื่อนักศึกษา หัวข้อวิทยานืพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา
5.1.1.9

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1…5……4…

Leave a Reply