องค์ประกอบที่ 6 คณาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 คุณภาพคณาจารย์ (คุณภาพของบุคลากรสายวิชาการ)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-7 ข้อ 8-10 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-8 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. วางแผนด้านบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม

      คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ได้วางแผนด้านบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสมดังนี้
      1.อาจารย์ประจำคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอน ร่วมทั้งอาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ ทุกคน สำเร็จระดับปริญญาเอก สาขาบริหารการศึกษา ส่วนอาจารย์ผู้สอนวิจัยและวัดผลทางการศึกษาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา วิจัยและวัดผลทางการศึกษา ซึ่งอาจารย์ทุกท่านสำเร็จจากมหาวิทยาลัยที่ผ่านการรับรองจากสำนักงานการอุดมศึกษาทุกคน

      2.การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เริ่มต้นตั้งแต่ระบบการรับอาจารย์ใหม่ ต้องกำหนดเกณฑ์คุณสมบัติอาจารย์ที่สอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบัน และของหลักสูตรมีกลไกการคัดเลือกอาจารย์ที่เหมาะสม โปร่งใส นอกจากนี้ต้องมีระบบการบริหารอาจารย์ โดยการกำหนดนโยบาย แผนระยะยาว เพื่อให้ได้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

        3.คณะกรรมการบริหารหลักสูตร จัดโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ด้านวิทยาการและงานวิจัยโดยส่งอาจารย์บริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน เข้าอบรมสัมมนาเชิงวิชาการ รวมทั้งร่วมเสนอผลงานวิจัยเชิงบริหารการศึกษาร่วมกับมหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อนำความรู้และประสบการณ์มาพัฒนาหลักสูตร และวิชาที่รับผิดชอบ รวมทั้งนำผลงานวิจัยเชิงบริหารสมัยใหม่มาให้นักศึกษาได้พัฒนาความรู้และนำเอาหลักการและทฤษฎีเชิงบริหารการศึกษาที่สอดคล้องกับงานวิจัยของนักศึกษาได้พัฒนางานวิจัยของตนได้สมบูรณ์แบบมากขึ้น

        4. มีการวางแผนและการลงทุนงบประมาณและทรัพยากรและกิจกรรมการดำเนินงาน ตลอดจนการกำกับดูแล และการพัฒนาคุณภาพอาจารย์โดยในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรบริหารการศึกษามหาบัณฑิต ได้มีการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรของวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรชามาเป็นหลักในการดำเนินการและได้ดำเนินการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรตามระบบของวิทยาลัยซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้
           ขั้นตอนที่ 1. หลักสูตรได้มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อทบทวน วิเคราะห์จำนวนอัตรากำลังของอาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรเนื่องจากปัจจุบันหลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 7 คน ซึ่งเพียงต่อการจัดการเรียนการสอน
          ขั้นตอนที่ 2. หลักสูตรได้มีการพิจารณา คุณวุฒิ และคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 5 คน เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกำกับหลักสูตร และมีการคัดเลือกอาจารย์ที่มีคุณสมบัติเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ
         ผลการดำเนินการของคณะกรรมบริหารหลักสูตร บริหารการศึกษามหาบัณฑิตมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจำนวน 5 คน และมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาโท พ.ศ. 2565
    ผลการดำเนินการของอาจารย์ประจำหลักสูตรมี ดังนี้

1.คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและกรรมการผู้สอนประชุมวางแผนการดำเนินการในด้าน การจัดการเรียน การจัดอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิจัย ผ่านการเห็นชอบจากคณบดีคณะศึกษาศาสตร์

2. คณะกรรมการหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนจัดทำโครงการสอนในระบบระบบ TQF 3 ผ่านระบบ mis,stic.ac.th ของวิทยาลัยเพื่อเสนอให้ฝ่ายบริหารคณะศึกาษาตรวจสอบความถูกต้องแลและประเมินเพื่อนำไปตามแผนที่วางไว้

3.อาจารย์ผู้สอนและผู้ควบคุมวิทยานิพนธฺ์จัดเตรียมเอกสาร และกำหนดการต่างๆเพื่อประสานงานกับนักศึกษาเพื่อผลการดำเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์

4.อาจารย์ประจำหลักสูตร จัดทำสื่อและวิจัยเพื่อประกอบการสอนให้ตรงกับวิชาในหลักสูตร

2. มีการควบคุมปริมาณงานเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพของงาน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …

1 กำหนดชั่วโมงสอนไม่เกินระยะเวลาในการสอน

2.กำหนดให้เวลาในการให้คำปรึกษาการพัฒนาวิทยานิพนธ์…

3. กำหนดสมรรถนะ มีการประเมินผล และมีการสื่อสารให้ทราบ

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……

1.การวัดผลและการประเมินผลเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

2.ผู้สอนแจ้งให้นักศึกษาทราบการวัดประเมินก่อนเรียนทุกครั้ง

4. บุคลากรสายวิชาการมีจำนวน และ มีภาระหน้าที่ที่เหมาะสม

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …..

  1. สาขากำหนดสัดส่วนอาจารย์ประจำหลักสูตรตรงสาขาบริหารการศึกษา
  2. กำหนดอาจารย์ผู้สอนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะในการสอนวิชาต่างๆในหลักสูตร
  3. อาจารย์ผู้สอนผ่านการประเมินคุณภาพหลังสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการสอน.

5. มีระบบประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรม และเกี่ยวข้องกับงาน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ….

  1. ในการประเมินคุณภาพการสอนผู้สอนมีคุณธรรมด้านการวัดประเมินตัวติดประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ในรายวิชา
  2. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกการบูรณาการด้านพื้นฐานคุณธรรมจริยธรรมตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพครู..

6. กำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ชัดเจน และทำความเข้าใจให้ทุกคนทราบ

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ .

  1. อาจารย์ผู้สอน กำหนดบทบาทหน้าที่ให้นักศึกษาทราบเช่น การแสดงบทบาทผู้นำผู้ตามที่ดีในแต่ครั้งเพื่อพัฒนาความเป็นผู้นำที่ดีให้กับนักศึกษา
  2. มีการกำหนดหน้าที่สลับหมุนเวียนเปลี่ยนในการเป็นผู้นำ และมีความรับชอบการส่งงานทั้งการเรียนและการพัฒนาด้านการทำวิทยานิพนธ์…..

7. กำหนดและวางแผนพัฒนา ตามความต้องการของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ .

  1. วิเคราะห์ผลการนำหลักสูตรไปใช้และประเมินผลการใช้หลักสูตรโดยแยกตามรายวิชาที่สอน
  2. กำหนดทิศทางในการพัฒนาเนื้อหรือทฤษฎีในวิชาการตามหลักสูตรรวมทั้งประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนให้เห็นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านการบริหาร
  3.  รับฟังการประเมินอาจารย์ผู้สอนของนักศึกษา
  4. รับฟังความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตได้แก่ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนของที่นักศึกษาเกี่ยวกับ การพัฒนาการด้านภาวะผู้นำและการเป็นผูู้บริหารการศึกษา
  5. นำข้อมูลที่สะท้อนดังกล่าวมาประชุมวางแผนการพัฒนาวิชาในหลักสูตร ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาหลักสูตรได้พัฒนานักการศึกษาให้เป็นผู้บริหารสมัยใหม่
  6. มอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนวางแผนพัฒนาโครงการสอน แผนการสอน สื่อการสอนให้ตรงกับ คำอธิบายรายวิชาและจุดประสงค์ที่คาดหวังของหลังสูตร 
  7. อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ประจำวิทยานิพนธ์ กำหนดโครงการพัฒนาวิทยานิพนธ์ร่วมกับนักศึกษาและรายงานผลเพื่อเสนอขออนุมัติจบจากสภาวิทยาลัย

8. นำผลการประเมินการปฏิบัติงานมาใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตร

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ….

  1. นำผลการประเมินของนักศึกษามาปรับปรุงวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน..และปรับปรุงหลักสูตร

9. คณาจารย์ ผู้เรียน และชุมชน ร่วมกันสร้างประสบการณ์การเรียนรู้

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……

ระหว่างการศึกษาและพัฒนาวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษารับฟังความคิดเห็นข้อคิที่ได้จากการไปพัฒนาวิทยาวิทานิพนธ์

10.  คณาจารย์บูรณาการศิลปะและวัฒนธรรม ในการจัดการเรียนรู้

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …..

ส่งเสริมด้วนการบูรณาการศิลแวัฒนธรรมของสถานศึกษาและชุมชนที่นักศึกษาพัฒนาวิทยานิพนธ์.

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

…5 ข้อ…

IQA(1-10)

1,2,3,9,10

….5…ข้อ

…4..คะแนน

AUN-QA(1-8)

1(4), 2(4), 3(4)

ระดับ……3…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐานรายการ
6.1.1.1 ข้อมูลการพัฒนาของอาจารย์ประจำหลักสูตร
CV รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
CV ผศ.ดร.วิเชียร พันธ์เครือบุตร
CV ดร.มาลี  ธรรมศิริ
CV ดร.พนิดา คล้อสวัสดิ์
CV ผศ.ดร. อรวรรณ จันทร์ชลอ
CV ดร.อรรณ โพธิสุข
CV ผศ.ดร. พจนีย์ มั่งคั่ง
6.1.1.2ปริมาณงานอาจารย์ประจำหลักสูตร
6.1.1.3สมรรถนะของอาจารย์ประจำหลักสูตร
6.1.1.4บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตร
6.1.1.5
6.1.1.6หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้สอน
6.1.1.7แผนปฏิบัติการประจำปีคณะศึกษาศาสตร์
6.1.1.8
6.1.1.9เว็บไซต์ M.Ed – LMS
โครงการพัฒนาท้องถิ่น
โครงการ U School
6.1.1.10หลักสูตร M.Ed – LMS หน้าเว็บไซต์
โครงการพัฒนาท้องถิ่น
โครงการ U School

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 คุณวุฒิปริญญาเอก

ผลการดำเนินการ

มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพียงหลักสูตรเดียว ดังนี้

  1. ผศ. ดร. วิเชียร พันธ์เครือบุตร
  2. ดร. พนิดา คล้อสวัสดิ์
  3. ผศ. ดร. อรวรรณ จันทร์ชลอ

คำนวณ ร้อยละ= (3/3)*100 = 100 

               คะแนน = (100/60) * 5 = 8.33 =5

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ 60

IQA(1)

อาจารย์ปริญญาเอก 3 คน/อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 3 คน

ร้อยละ 100

5 คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.2.1.1CV อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
CV ผศ.ดร.วิเชียร พันธ์เครือบุตร
CV ดร.พนิดา คล้อสวัสดิ์
CV ผศ.ดร. อรวรรณ จันทร์ชลอ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ผลงานวิจัยตีพิมพ์

การกำหนดค่าถ่วงน้ำหนักตามระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ ดังนี้

ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ
0.20 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
0.40 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
-ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร
0.60 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2
0.80 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
1.00 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
-ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตร
-ผลงานวิจัยการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
-ผลงานค้นพบพันธุ์พืช  พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
-บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ

ผลการดำเนินการ

ร้อยละ = (4/3) * 100 = 133.33

คะแนน = (133.33/40) * 5 = 16.67 = 5

ตารางแสดงข้อมูลผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ ประจำปีการศึกษา 2565

No.TitleName of the LecturerName of JournalIndexWeight
1The Development Of Phonic Reading Skills For Chinese
Mandarin By The Method Of Reading The Nursery Lyrical
Rhymes For The Third-Grade Students At Anubaan Chiangmai School, Thailand
Peihong Jiang
Pongthep Jiraro
Nongnuch Suwanruji
Panida Klosawasdi
Journal of Positive School Psychology ,6(9),5227-5234
(2022)
Scopus
Q2
1.00
2Applying LINE Application to Develop English Language Proficiency Skills: Case Study of First Year Undergraduate
Students in a University, Thailand
Una Schneider
Vichian Puncreobutr Chanida Muangkaew
Willard Jeff
Villablanca Pada
Journal of Positive School
,6(4), 9854 – 9862
(Jun 2022)
Scopus
Q2
1.00
3Factors of Core Competencies Influencing the Accounting Competencies of Thai Accounting Graduates for Working in The ASEAN Economic CommunityTanawadee Kangnoi Rubaba Nawrin
Bandyopadhyay Dwiptendra
Orawan Chanchalor
Journal of Higher Education Theory and Practice ,22(9),128-132
(Aug 2022)
Scopus
Q4
1.00
4Safety Behaviors Affecting the Quality of Life at Work of Safety Officers in the Eastern Economic Corridor, ThailandRubaba Nawrin
Rattanathorn Intarak
Orawan Chanchalor
Malee Dhammasiri
Social Evolution and History ,11(9),77-86
(2022)
Scopus
Q2
1.00

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ 40

IQA(1)

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน 4 /อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 3 คน

ร้อยละ 133.335

5 คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.3.1.1ผลงานทางวิชาการ

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 6.143
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 5
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 5
คะแนนเฉลี่ย4.67

Leave a Reply