-องค์ประกอบที่ 6 คณาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 คุณภาพคณาจารย์ (คุณภาพของบุคลากรสายวิชาการ)

พิจารณาตามมาตรฐาน สป. อว. (IQA)

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
1 ข้อ 2 ข้อ 3-4 ข้อ 5-7 ข้อ 8-10 ข้อ

พิจารณาตามมาตรฐาน AUN-QA ประเมินภาพรวมประเด็น 1-8 ประเมิน 7 ระดับ

ผลการดำเนินการ

1. วางแผนด้านบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……  

 หลักสูตรฯวางแผนด้านบุคลากรสายวิชาการให้มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสมอ  ดังนี้

1.การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่
1.1 มีการปฐมนิเทศแก่อาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของอาจารย์และมีความเข้าใจในนโยบายของวิทยาลัย คณะวิชา ตลอดจนในหลักสูตรที่สอน
1.2 ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการสอนและการวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติอย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริมให้ ปฏิบัติงาน ร่วมกับอาจารย์พี่เลี้ยงในระยะ 2 ปีแรก 

2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ เช่นการพัฒนาสื่อ คลิปวีดีโอ  Google Classroom
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล เช่น การใช้ระบบ MIS  วิธีการส่ง TQF 3  การส่งผลการเรียน  เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
      2.1.1 ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์การสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
      2.1.2 ส่งเสริมอาจารย์ให้เข้าร่วมโครงการด้านวิชาการ ทั้งโครงการภายในคณะ และภายนอกวิทยาลัย       

2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่น ๆ
        2.2.1 สนับสนุนให้อาจารย์มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้และคุณธรรม  เช่น KM  โครงการ U- school   ครูคืนถิ่น
       2.2.2 สนับสนุนให้อาจารย์ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ
       2.2.3 ส่งเสริมให้อาจารย์ทำวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
       2.2.4 ส่งเสริมให้อาจารย์ทุกคนเข้าร่วมกลุ่มวิจัยต่าง ๆ ของคณะวิชา
       2.2.5 ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมบริการวิชาการต่าง ๆ ของคณะวิชา

3. การเตรียมความพร้อมเพื่อทดแทนอาจารย์ที่ลาออก โดยหลักสุตรฯมีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ คุณสมบัติตามเกณฑ์กำหนด หลายท่านมีความพร้อมในการเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร สามารถทดแทนได้ทันที  

2. มีการควบคุมปริมาณงานเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพของงาน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……

หลักสูตรฯ กำหนดแนวทาง ระบบการบริหารอาจารย์ ไว้ใน มคอ.2  ดังนี้
1 กำหนดกรอบภาระงานและแนวปฏิบัติ ตามกรอบนโยบายของวิทยาลัย/คณะ
2. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกรอบภาระงานและแนวปฏิบัติของหลักสูตรก่อนเปิดภาคการศึกษา
3. ติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากร จัดกิจกรรมพัฒนาอาจารย์ เช่น  การสนับสนุนให้บุคลากรศึกษาต่อการทำผลงานทางวิชาการและงานวิจัย เป็นต้น
4. จัดกิจกรรมสร้างแรงจูงใจ บรรยากาศในการทำงานร่วมกัน มีการยกย่องชมเชยให้รางวัล และมีการพูดคุยแบบกัลยาณมิตร เพื่อปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงาน  ทั้งนี้อาจารย์ประจำหลักสูตรมีภาระงานสอน  การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ไม่เกินเกณฑ์กำหนด  การวิจัย  อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง หากไม่มีก็ส่งเสริมสนับสนุนให้ทำงานวิจัย   การจัดกิจกรรมโครงการเพื่อพัฒนาหลักสูตร  การทำผลงานทางวิชาการ  มีผลงานทางวิชาการเผยแพร่ภายใน 5 ปี อย่างน้อย  3 เรื่อง  ซึ่งหลักสูตรมีการกำกับติดตามให้อาจารย์ประจำหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์กำหนด ภาระงานสอน ให้เหมาะสม หากอาจารย์ยังไม่มีภาระงานสอนก็ส่งเสริมให้เป็นผู้สอนร่วม  

3. กำหนดสมรรถนะ มีการประเมินผล และมีการสื่อสารให้ทราบ

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …..       

 หลักสูตรฯ กำหนดสมรรถนะของอาจารย์ ดังนี้

1. มีความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารการศึกษา
2. มีภาวะผู้นำทางวิชาการ
3. มีความสามารถด้านการออกแบบและจัดการเรียนรู้
4. มีทักษะด้านการวิจัยทางการศึกษาและการบริหารการศึกษา
5. มีสมรรถนะในการออกแบบและสร้างสรรค์งานด้านการบริการทางวิชาการ
     (เป็นคณะกรรมการทางวิชาการให้กับองค์กรต่างๆ ออกแบบโครงการฝึกอบรม  ผลิตหนังสือ-ตำราทางวิชาการ เขียนบทวามเผยแพร่องค์ความรู้เพื่อบริการทางวิชาการ)
6. สามารถบูรณาการการวิจัยและบริการทางวิชาการกับการจัดการเรียนรู้
7. มีความรับผิดชอบ มีน้ำใจ เอื้ออาทรต่อศิษย์

แนวทางการติดตามและประเมินผลการพัฒนาอาจารย์ และมีการประชุมเพื่อสื่อสารให้อาจารย์ทุกท่านทราบ  ดังนี้
1. ติดตามผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของอาจารย์โดยพิจารณาจากภาระงานที่รับผิดชอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาและความพึงพอใจของนักศึกษา
2. ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานโดยรวม ปีละ 1 ครั้ง เพื่อตอบแทนความดีความชอบ หรือวิเคราะห์ชี้นำแนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง     

4. บุคลากรสายวิชาการมีจำนวน และ มีภาระหน้าที่ที่เหมาะสม

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……         

 หลักสูตรฯ วางแผน เพื่อให้มี จำนวน/คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร และภารหน้าที่ที่เหมาะสม  ดังนี้
1. การจัดทำแผนและกรอบอัตรากำลัง โดยศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม นโยบายการเปิดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบัน และคณะ แผนการเปิดรับนักศึกษา อัตราเกษียณอายุราชการของอาจารย์ในหลักสูตร และการทบทวนจำนวนคุณสมบัติและภาระงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรจัดทำแผนพัฒนาตนเองเพื่อให้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร พัฒนาตนเองตามแผนเพื่อให้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 และระเบียบวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซาว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 เช่น การทำผลงานทางวิชาการ เพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น การนำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมวิชาการและการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด เป็นต้น 

5. มีระบบประเมินผลการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรม และเกี่ยวข้องกับงาน

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……     

หลักสูตรฯ กำหนดการประเมินกระบวนการการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรม  และเกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ  ดังนี้

1. ติดตามผลความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของอาจารย์โดยพิจารณาจากภาระงานที่รับผิดชอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาและความพึงพอใจของนักศึกษา
2. ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานโดยรวม ปีละ 1 ครั้ง เพื่อตอบแทนความดีความชอบ หรือวิเคราะห์ชี้นำแนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง   ระบบประเมิน มีการประเมินเพื่อต่อสัญญา  เน้น คุณธรรมจริธรรม ความโปร่งใส   มีคณะกรรมการประเมิน

6. กำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ชัดเจน และทำความเข้าใจให้ทุกคนทราบ

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……      

หลักสูตรฯ มีการวางระบบผู้สอน กำหนดบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจนและทำความเข้าใจให้ทุกคนทราบโดยการประชุม การปฐมนิเทศ  ดังนี้
(1) หลักสูตรกำหนดให้มีผู้สอน/ผู้รับผิดชอบประจำวิชา โดยอาจารย์ประจำ 1 คน เป็นผู้สอนหรือผู้รับผิดชอบหลัก ไม่เกิน 2 รายวิชา ตามโครงสร้างของหลักสูตร
(2) กำหนดให้รายวิชาหนึ่ง ๆ มีผู้สอน/ผู้รับผิดชอบหลัก 1 คน หรือมีผู้สอนร่วมด้วย (ถ้ามี) ทั้งนี้ แต่ละรายวิชาต้องกำหนดให้นักศึกษาเรียนรู้จากวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญในบางหัวข้อตามคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตร
(3) หลักสูตรศึกษา มคอ.2 คำอธิบายรายวิชา คุณสมบัติและประสบการณ์ของผู้สอนทั้งระดับหลักสูตรและระดับคณะ เพื่อจัดผู้สอนในรายวิชาของหลักสูตรข้อกำหนดในการวางระบบผู้สอน
(4) ชี้แจงทำความเข้าใจเป้าหมายของหลักสูตรและแนวทางการพัฒนานักศึกษากับผู้สอน
(5) ผู้สอนจัดทำ มคอ.3/มคอ.4 ในรายวิชาที่รับผิดชอบ
(6) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทวนสอบ มคอ.3/มคอ.4 รายวิชาที่เปิดสอนแต่ละภาคการศึกษา
(7) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุมทวนสอบ มคอ.5/มคอ.6
(8) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแจ้งผลการทวนสอบ มคอ.5/มคอ.6 ให้อาจารย์ผู้สอนปรับแก้ไข และส่ง มคอ. ตามระบบและกลไกของวิทยาลัย

7. กำหนดและวางแผนพัฒนา ตามความต้องการของหลักสูตรอย่างเป็นระบบ

….ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……   

หลักสูตรฯมีการกำหนดและวางแผนพัฒนา ตามความต้องการของหลักสูตรอย่างเป็นระบบโดยการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์  ดังนี้
1. ศึกษาคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.ส่งเสริมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรจัดทำแผนการพัฒนาตนเองเพื่อให้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
3.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร พัฒนาตนเองตามแผนเพื่อให้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เช่น การทำผลงานทางวิชาการ เพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น การนำเสนอบทความวิจัยในที่ประชุมวิชาการและการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ เป็นต้น
4.จัดกิจกรรมพัฒนาอาจารย์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ศึกษาดูงาน การเข้าร่วมประชุมวิชาการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) เป็นต้น

8. นำผลการประเมินการปฏิบัติงานมาใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตร

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …… 

หลักสูตร ฯได้มีการจัดทำแผนพัฒนา (Improvement Plan)  และมีการศึกษาวิเคราะห์  นำข้อเด่น มาพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้น ส่วนข้อด้อย นำมาปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตร    

9. คณาจารย์ ผู้เรียน และชุมชน ร่วมกันสร้างประสบการณ์การเรียนรู้

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ …… 

หลักสูตร วางแผนให้ คณาจารย์ ผู้เรียน และชุมชน ร่วมกันสร้างประสบการณ์การเรียนรู้  ได้แก่  การส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถเป็นผู้นำทางวิชาการ มีทักษะในการบริหารจัดการ  โดยในแต่ละภาคการศึกษา เน้นให้นักศึกษาทำหน้าที่ผู้ช่วยผู้อำนวยการสถานศึกษาที่ต้นสังกัด (Assistant to the School Administrator) (ยกเว้นกรณีที่ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งผู้บริหารการศึกษาอยู่แล้ว) โดยมอบหมายให้รับผิดชอบจัดทำโครงงานประจำภาคเรียนตามที่กำหนดหรือเขียนบทความทางวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เพื่อการเรียนรู้แบบบูรณาการกับงานประจำ (Work – Integrated Learning: WIL) ภายใต้การกำกับดูแลหรือชี้แนะของอาจารย์ผู้สอนรายวิชาในภาคการศึกษานั้น ๆ และอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ ในขณะเดียวกันจะมีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพิ่มเติมสำหรับผู้เรียนที่ประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการบริหารการศึกษาและบริหารสถานศึกษา จัดเป็นรายวิชาเฉพาะอีก 1 รายวิชา   

10.  คณาจารย์บูรณาการศิลปะและวัฒนธรรม ในการจัดการเรียนรู้

…… ระบุรายละเอียดผลการดำเนินการ ……

หลักสูตร วางแผนให้ คณาจารย์ ผู้เรียน และชุมชน ร่วมกันสร้างประสบการณ์การเรียนรู้  ได้แก่  การส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถเป็นผู้นำทางวิชาการ มีทักษะในการบริหารจัดการ  โดยในแต่ละภาคการศึกษา เน้นให้นักศึกษาทำหน้าที่ผู้ช่วยผู้อำนวยการสถานศึกษาที่ต้นสังกัด (Assistant to the School Administrator) (ยกเว้นกรณีที่ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งผู้บริหารการศึกษาอยู่แล้ว) โดยมอบหมายให้รับผิดชอบจัดทำโครงงานประจำภาคเรียนตามที่กำหนดหรือเขียนบทความทางวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เพื่อการเรียนรู้แบบบูรณาการกับงานประจำ (Work – Integrated Learning: WIL) ภายใต้การกำกับดูแลหรือชี้แนะของอาจารย์ผู้สอนรายวิชาในภาคการศึกษานั้น ๆ และอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ 

         หลักสูตรฯ มีความร่วมมือกับโรงเรียน  โครงการ U-School   ครูคืนถิ่น  จัดทำคลิป วีดีโิอ  วิจัยเกี่ยวกับด้านศิลปะวัฒนะธรรมของโรงเรียน  Learning Support….ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ งานกิจการนักศึกษา  การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการระหว่างบริการทางวิชาการ หรือการวิจัย กับการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการจัดกิจกรรมเสริมสมรรถนะ เสริมความเป็นผู้บริหาร  

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

…5 ข้อ…

IQA(1-10)

1,2,3,4,6,9,10

….7…ข้อ

…4..คะแนน

AUN-QA(1-8)

1,2,4

ระดับ……1…….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.1.1.1 แผนพัฒนาบุคลากร
ภาพการประชุมอาจารย์
6.1.1.2 ตารางสอน 2-2022
ผลงานทางวิชาการเผยแพร่
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
6.1.1.3 เวปไซด์ Ph.D.
6.1.1.4 ตารางสอน 2-2022
ผลงานทางวิชาการเผยแพร่
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
6.1.1.5  
6.1.1.6 สมรรถนะผู้สอน เวปไซด์ Ph.D.
6.1.1.7  
6.1.1.8  
6.1.1.9 Will project
E-portfolio
กิจกรรมเสริมหลักสูตรผู้บริหาร
6.1.1.10 กิจกรรมเสริมความเป็นผู้บริหาร
Will project
กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 คุณวุฒิปริญญาเอก

ผลการดำเนินการ

……แสดงวิธีการคำนวณ…..                                                                                           อาจารย์ทุกคนมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก                                                                               1. ผศ.ดร.วิเชียร  พันธ์เครือบุตร คุณวุฒิ  กศ.ด. การบริหารการศึกษา, กศ.ม. การบริหารการศึกษา,กศ.บ. เคมี                                                                                                      2.ผศ.ดร.อรวรรณ จันทร์ชลอ   คุณวุฒิ ปร.ด. การบริหารการศึกษา, ปร.ด. เทคโนโลยีทางการศึกษา,  ศษ.ม. การบริหารการศึกษา,ศษ.บ. โสตทัศนศึกษา                                        3.ดร.พนิดา คล้อสวัสดิ์ คุณวุฒิ ปร.ด. การบริหารการศึกษา, ศษ.ม. การบริหารการศึกษา
ศษ.บ. การบริหารการศึกษา,กศ.บ. ชีววิทยา

ร้อยละของอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก=3/3*100 = 100 

คะแนนที่ได้= 100/100*5 =5

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ…

IQA(1)

อาจารย์ปริญญาเอก…คน/อาจารย์ผู้รับผิดชอบ…คน

ร้อยละ..100….

..5…คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.2.1.1ภาคผนวก มคอ.2
แสดงคุณวุฒิอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ผลงานวิจัยตีพิมพ์

การกำหนดค่าถ่วงน้ำหนักตามระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ ดังนี้

ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ
0.20 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
0.40 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
-ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร
0.60 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2
0.80 บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
1.00 -บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์ การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
-ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตร
-ผลงานวิจัยการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
-ผลงานค้นพบพันธุ์พืช  พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
-ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
-บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ

ผลการดำเนินการ

……แสดงวิธีการคำนวณ…..

ร้อยละผลรวมถ่วงนน.ของผลงาน= 4/3*100 =133.33=100

คะแนนที่ได้ =100/60*5=8.3=5

ตารางแสดงข้อมูลผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ ประจำปีการศึกษา 2565

No.TitleName of the LecturerName of JournalIndexWeight
11 Applying LINE Application to Develop English Language
Proficiency Skills: Case Study of First Year Undergraduate
Students in a University, Thailand
Una Schneider
Vichian Puncreobutr Chanida Muangkaew
Willard Jeff
Villablanca Pada
Journal of Positive School
,6(4), 9854 – 9862
(Jun 2022)
Scopus
Q2
1.00
2Factors of Core Competencies Influencing the Accounting Competencies of Thai Accounting Graduates for Working in The ASEAN Economic Community Bandyopadhyay Dwiptendra
Orawan Chanchalor
Journal of Higher Education Theory and Practice ,22(9),128-132
(Aug 2022)
Scopus
Q4
1.00
3Safety Behaviors Affecting the Quality of Life at Work of Safety Officers in the Eastern Economic Corridor, Thailand https://shorturl.asia/MvHtORubaba Nawrin
Rattanathorn Intarak
Orawan Chanchalor
Malee Dhammasiri
Social Evolution and History ,11(9),77-86
(2022)
Scopus
2
1.00
4The Development Of Phonic Reading Skills For Chinese
Mandarin By The Method Of Reading The Nursery Lyrical
Rhymes For The Third-Grade Students At Anubaan Chiangmai
School, Thailand https://shorturl.asia/hUm42
Peihong Jiang
Pongthep Jiraro
Nongnuch Suwanruji
Panida Klosawasdi
Journal of Positive School Psychology ,6(9),5227-5234
(2022)
Scopus
Q2
1.00

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย

การดำเนินการ(KPIเชิงคุณภาพให้ระบุข้อ)

การประเมินตนเอง

ร้อยละ…

IQA(1)

ผลรวมถ่วงน้ำหนักผลงาน/อาจารย์ผู้รับผิดชอบ.3..คน

ร้อยละ.100…..

..5…คะแนน

AUN-QA(ไม่มี)

ไม่มี

ระดับ…ไม่มี….

รายการหลักฐานอ้างอิง

รหัสหลักฐาน รายการ
6.3.1.1งานวิจัยเผยแพร่ 1
6.3.1.2งานวิจับเผนแพร่ 2
6.3.1.3งานวิจัยเผยแพร่ 3
6.3.1.4งานวิจัยเผยแพร่ 4

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินตนเองIQAAUN-QA
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1…4……1…
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 …5…
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 …5…
คะแนนเฉลี่ย4.67

Leave a Reply